Sunday, May 30, 2021

Short Cut ในการ Copy ภาพ ให้อยู่ใน Layer เดียวกัน

 

Short Cut ในการ Copy ภาพ ให้อยู่ใน Layer เดียวกัน


ภาพบน ) ภาพต้นแบบ



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขั้นตอนที่ 1 : ใช้เครื่องมือ Selection เลือกพื้นที่ก่อน

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขอแทรกนิดนึงครับ    


       เครื่องมือสำหรับการทำ Selection ( การเลือก ) มีอยู่หลายแบบ แต่ที่นิยมกัน ก็คือ 2 แบบข้างล่างนี้นะครับ


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เครื่องมือ แบบที่ 1 : Rectangular Marquee Tool

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


ภาพบน ) คลิ๊กไปที่ Rectangular Marquee Tool ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ" 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 



ภาพบน ) เครื่องมือ Rectangular Marquee Tool ที่เราคลิ๊กเลือกไป 

จะมีสัญลักษณ์เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ 


ภาพข้างบนนี้มาจาก thenounproject.com



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เครื่องมือ แบบที่ 2 : Lasso Tool 

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) คลิ๊กไปที่ Lasso Tool ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ" 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



ภาพบน ) เคอร์เซอร์ เมาส์ จะเปลี่ยนเป็น สัญลักษณ์ เชือกวงรี  

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้

เครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Lasso Tool    
:/ 



ในครั้งนี้ เราเลือกใช้ แบบที่ 2 คือ Lasso Tool นะครับ



ภาพบน ) คลิ๊กไปที่ Lasso Tool ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ" 

ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



ภาพบน ) เคอร์เซอร์ เมาส์ จะเปลี่ยนเป็น สัญลักษณ์ เชือกวงรี  

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้

เครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Lasso Tool 
 



ภาพบน ) กลับมาดูที่ภาพต้นแบบ


ภาพบน ) เอาเครื่องมือ Lasso Tool ( ที่เราเลือกไว้จากกล่องเครื่องมือ )

ไป "วงรอบ" ภาพต้นแบบ - เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) หลังจากที่ใช้เครื่องมือ Lasso Tool ทำการ "วงรอบ" ภาพต้นแบบแล้ว

ก็จะเกิด "เส้นประ" วิ่งรอบภาพ เหมือนตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขั้นตอนที่ 2 : หลังจากใช้เครื่องมือ Lasso Tool เรียบร้อบแล้ว

ก็ถึงเวลาที่ต้องกดปุ่ม 3 ปุ่มข้างล่างนี้ ( เรียงตามลำดับ )

แล้ว "ค้าง" เอาไว้ 


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) อันดับ 1 : กด ปุ่ม Alt "ค้าง"



ภาพบน ) อันดับ 2 : กด ปุ่ม Shift "ค้าง" 



ภาพบน ) อันดับ 3 : กด ปุ่ม Control "ค้าง



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขั้นตอนที่ 3 : เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้ในพื้นที่ Selection

แล้วคลิ๊ก "ค้าง"


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้บริเวณใดก็ได้

ที่อยู่ในพื้นที่ Selection ( คือเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางในพื้นที่ ที่มี "เส้นประ" วิ่งรอบภาพ )

ยกตัวอย่างเช่น เอาไปไว้ตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) คลิก "ค้าง"



Lasso Tool


ลูกศรพิเศษ

        ภาพบน ) เมื่อเราเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้บริเวณใดก็ได้ ที่อยู่ในพื้นที่ที่อยู่ในพื้นที่ Selection ( คือเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางในพื้นที่ ที่มี "เส้นประ" วิ่งรอบภาพ ) แล้วเราก็คลิ๊ก "ค้าง" นั้น

        ผลของการที่เราคลิ๊ก "ค้าง" นั้น ก็จะทำให้ เคอร์เซอร์ เมาส์ ของเราเปลี่ยนจากรูปของ Lasso Tool ไปเป็น ลูกศรพิเศษ แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้ 



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขั้นตอนที่ 4 : หลังจากเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้ในพื้นที่ Selection

แล้วคลิ๊ก "ค้าง" แล้ว  /  จากนั้นก็ให้ "ลาก" เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปอีกด้านหนึ่ง 


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) "ลาก" เมาส์



ภาพบน ) "ลาก" เมาส์ ไปตามแนวของ เส้นประลูกศรสีม่วง ที่เห็นในภาพข้างบนนี้

ซึ่งจะเห็นได้ว่า มี ภาพที่เหมือนต้นฉบับอีกภาพหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาใหม่

และภาพที่ปรากฏขึ้นมาใหม่นั้น ก็ "
ติด" มาพร้อมกับ เคอร์เซอร์ เมาส์ ด้วย



ภาพบน ) "ปล่อย" ปุ่มเมาส์



ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "ก่อน" การ คลิ๊ก แล้ว ลาก เคอร์เซอร์ เมาส์

ซึ่งเมื่อดูตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

จะเห็นได้ว่า มีตัวต้นแบบยืนอยู่ภาพเดียว ในตำแหน่ง 
A.



ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "หลัง" การ คลิ๊ก แล้ว ลาก เคอร์เซอร์ เมาส์ แล้ว "ปล่อย" ปุ่มเมาส์แล้ว

       ซึ่งเมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

จะเห็นได้ว่ามี ภาพที่เหมือนต้นฉบับอีกภาพหนึ่ง มาปรากฏที่ตำแหน่ง B. แล้ว
 


- END -

- หน้า 2 ( หน้าสุดท้าย ) -

 

- หน้า 2 ( หน้าสุดท้าย ) -

 1  <  2  

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )

      ( ภาพบน ) สำหรับการ "หน่วงเวลา" นั้น มันจะมีความจำเป็นเฉพาะบางคำสั่งเท่านั้น

       ถ้าคำสั่งที่ "ไม่" จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา" ก็จบไว้ที่ขั้นตอนข้างบนนี้ได้เลย ( คือจบตรงที่เห็นใน ภาพข้างบนนี้ )  คือไม่ต้องทำอะไรเพิ่มเติมแล้ว

       ส่วนคำสั่งที่ จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา" เราก็จะมาทำการแก้ไขตัวเลขเพื่อจะทำการ "หน่วงเวลา" นะครับ

       แต่ว่า ก่อนที่เราจะไปถึงขั้นตอนวิธีการแก้ตัวเลขเพื่อ "หน่วงเวลา" นั้น  ผมขอพูดสั้นๆให้ฟังว่าก่อนว่า คำสั่งไหนที่ "ไม่" จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา" และคำสั่งไหนที่ จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา"



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

แบบที่ 1 : คำสั่งที่ "ไม่" จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา"

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

      คำสั่งที่ "ไม่" จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา" คือคำสั่งประเภทคลิ๊กครั้งเดียว  ยกตัวอย่างเช่น คำสั่งการเคลื่อนย้ายเลเยอร์ในโปรแกรม Photoshop

       คำสั่งการเคลื่อนย้ายเลเยอร์ในโปรแกรม Photoshop จะใช้การกดปุ่ม Ctrl + Shift + ]

       ณ.ตอนนี้ คุณผู้อ่านไม่จำเป็นต้องทำความเข้าใจอะไรมากก็ได้ครับ ( เดี๋ยว งง ) รู้แค่ว่า การใช้คำสั่ง Ctrl + Shift + ] นั้น เป็นการใช้คำสั่งเพื่อเคลื่อนย้ายเลเยอร์ ( ในโปรแกรม Photoshop ) ในแบบที่ "กดครั้งเดียว" ( ไม่ได้กดค้าง )

       ขั้นตอนการ Set Macro ของปุ่ม Ctrl + Shift + ]  ก็จะเป็นแบบภาพข้างล่างนี้  
( สมมติว่าเรากดปุ่ม Record แล้ว )


ภาพบน ) ปุ่มที่ 1 : กด ปุ่ม Ctrl "ค้างเอาไว้"




ภาพบน ) ปุ่มที่ 2 : กด ปุ่ม Shift "ค้างเอาไว้"


ภาพบน ) ปุ่มที่ 3 : กด ปุ่ม Right-Bracket "ค้างเอาไว้"


หลังจาก Record ทั้ง 3 ปุ่มข้างบนนี้แล้ว ก็จะได้หน้าจอ Macro เหมือนในภาพข้างล่างนี้



ภาพบน ) หน้าจอ Macro ของการกดปุ่ม  Ctrl + Shift + ]

ที่เราได้ Record เรียบร้อยแล้ว

       ( ภาพบน ) ในหน้าตจอ Macro ของการกดปุ่ม Ctrl + Shift + ] ที่เราได้ Record เรียบร้อยแล้วนั้น  จากที่เราพูดไว้ก่อนหน้านี้ว่า ในคำสั่งนี้ ( คือ Ctrl + Shift + ] ) มัน "ไม่" จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา" เพราะมันเป็นการใช้คำสั่งเพียงครั้งเดียว ( คือกดปุ่มพร้อมกันทั้ง 3 อัน ( คือ Ctrl + Shift + ] ) เพียงครั้งเดียว ) นั่นก็หมายความว่า ....

ภาพบน ) ตรงที่ ลูกศรสีส้ม ทั้ง 6 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

คือ เลข "หน่วงเวลา" ที่ระบบเขาตั้งให้โดย อัตโนมัติ

      ( ภาพบน ) หลังจากที่เรา Record เรียบร้อยแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ก็จะตั้งเลขหน่วงเวลาให้เราโดยอัตโนมัติ โดยดูได้จากตรงที่ ลูกศรสีส้ม ทั้ง 6 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ซึ่งจะเป็น เลข 0.016 วินาที ทั้งหมด

       ซึ่งเราก็จะปล่อยให้เป็นอย่างนี้เลย ( คือ ปล่อยให้มันเป็น เลข 0.016 วินาที ทั้งหมด ตรงที่ ลูกศรสีส้ม ทั้ง 6 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) โดยเราไม่ต้องทำอะไรเลย  /  คือ ก็ถือว่าการ Set Macro เสร็จแค่นี้



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

แบบที่ 2 : คำสั่งที่จำเป็นต้อง "หน่วงเวลา"

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


       ประเด็นสำคัญที่ผมจะต้องอธิบายก็คือเรื่องการ "หน่วงเวลา" ที่ว่านี้แหละครับ

* * * สำหรับคำสั่งที่จะต้องมีการ แก้ไขตัวเลขการ "หน่วงเวลา" ก็คือ คำสั่งประเภทที่คลิกแล้ว จะต้องมีการ "ค้างจังหวะ"


* * * คำสั่งประเภทที่คลิกแล้ว จะต้องมีการ "ค้างจังหวะ" ก็คือ คำสั่ง Alt + shift + Ctrl


* * * คำสั่ง Alt + shift + Ctrl  นั้น คือ คำสั่งการ Copy ภาพ


* * * พูดง่ายๆว่า คำสั่งการ Copy ภาพ  ( ที่ต้องใช้ปุ่ม Alt + shift + Ctrl ) นั้น จะต้องมีการ "ค้างจังหวะ"


* * * เมื่อ คำสั่งการ Copy ภาพ ( ที่ต้องใช้ปุ่ม Alt + shift + Ctrl ) นั้น จะต้องมีการ "ค้างจังหวะ" จึงต้องมีการ "แก้" เลขหน่วงเวลา ( คือแก้ เลขหน่วงเวลา จากที่ระบบคอมพิวเตอร์เขาตั้งมา )


* * * มาดูเรื่อง การ "แก้" เลขหน่วงเวลา ดังข้างล่างนี้ ....



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

การ "แก้" เลขหน่วงเวลา

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


      ตอนนี้ ผมจะเอาภาพจากหน้าที่แล้ว ( หน้า 1 ) มาให้ดูอีกครั้งนะครับ ดังข้างล่างนี้ ... 


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เริ่มบันทึก ( ขั้นตอนที่ : 1 - กดปุ่ม Record )  

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

( ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ปุ่ม Record

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

"ทันที" ที่คลิ๊กปุ่ม Record ไปแล้ว

ก็ให้เริ่ม ขั้นตอนที่ : 2 เลย "ทันที"

ด้วยการ คลิ๊ก "ค้าง" 3 ปุ่มนี้


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) ปุ่มที่ 1 : กด ปุ่ม Alt "ค้างเอาไว้"



ภาพบน ) ปุ่มที่ 2 : กด ปุ่ม Shift "ค้างเอาไว้


ภาพบน ) ปุ่มที่ 3 : กด ปุ่ม Ctrl "ค้างเอาไว้"


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ขั้นตอน : 3 - กดไปที่ปุ่ม Stop

( ซึ่งจะอยู่ตำแหน่งเดียวกับปุ่ม Record กอ่นหน้านี้ )


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ ปุ่ม STOP ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

( ปุ่ม STOP จะอยู่ที่ตำแหน่งเดียวกันกับที่ ปุ่ม Record ตั้งอยู่ - ก่อนหน้าานี้ )


ภาพบน ) เมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

จะเห็นได้ว่า เมื่อเราคลิกไปที่ ปุ่ม STOP ใน "ภาพก่อนหน้านี้" แล้ว

ปุ่ม STOP ก็จะเปลี่ยนไปเป็น ปุ่ม Record เหมือนเดิม


ภาพบน ) ตรงที่ ลูกศรสีส้ม ทั้ง 6 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

คือ เลข "หน่วงเวลา" ที่ระบบเขาตั้งให้โดย อัตโนมัติ


      ( ภาพบน ) หลังจากที่เรา Record เรียบร้อยแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ก็จะตั้งเลขหน่วงเวลาให้เราโดยอัตโนมัติ โดยดูได้จากตรงที่ ลูกศรสีส้ม ทั้ง 6 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ซึ่งจะเป็น เลข 0.016 วินาที ทั้งหมด

ภาพบน ) ดูคำอธิบายด้านล่างนะครับ .... 



       ( ภาพบน ) ดูคำอธิบายดังนี้นะครับ

* * * เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ เขาตั้งเลขหน่วงเวลา ทั้งหมด มาเป็น 0.016 วินาที


* * * แต่จากที่ผมพูดให้ฟังก่อนหน้านี้แล้วว่า คำสั่ง Alt + shift + Ctrl ( ที่เห็นในภาพข้างบนนี้ ) เป็นคำสั่งที่จะต้องมีการ "ค้างจังหวะ"


* * * เมื่อเราต้อง  "ค้างจังหวะ" จึงต้องมีการแก้ตัวเลขการ "หน่วงเวลา" ไปที่ ตัวเลขสามตัว ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


* * * ตัวเลขสามตัว ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ คือจังหวะที่ปุ่มจะ "เด้งขึ้น"


* * * สิ่งที่เราจะทำก็คือ การ "หน่วงเวลา" ให้จังหวะที่ปุ่ม "เด้งขึ้น" จากของเดิม 0.016 วินาที ให้เปลี่ยนเป็นตัวเลข 5 วินาที 


* * * ดังนั้น ภารกิจในขั้นตอนต่อไปคือ การแก้ ตัวเลขสามตัว ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ จากเลข 0.016 วินาที ให้เป็นตัวเลข 5 วินาที นั่นเอง


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

แก้ตัวเลข 3 ตัวข้างล่าง จาก 0.016 วินาที

ให้เป็น 5 วินาที


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ


ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไป วางไว้เฉยๆ ที่ตัวเลข ที่เราต้องการจะเปลี่ยน

( ตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่บริเวณดังกล่าว

( ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

ภาพบน ) ข้างบนนี้คือภาพ "ก่อน" คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ตัวเลข ที่เราต้องการจะเปลี่ยน

เมื่อดูตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า แถบคำสั่งนี้ ยังไม่ถูกเลือก ( คือ 
ยังไม่มี แถบสีเทา ปรากฏอยู่ )


ภาพบน ) ข้างบนนี้คือภาพ "หลัง" การคลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ตัวเลข ที่เราต้องการจะเปลี่ยน

ซึ่งเมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า แถบคำสั่ง นี้ได้ปรากฏเป็น แถบสีเทา ขึ้นมาแล้ว

ซึ่งแปลว่าคำสั่งนี้ Active แล้ว ( ถูกเลือกแล้ว )


ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไป วางไว้เฉยๆ ที่ กรอบสี่เหลี่ยม ใต้คำว่า Delay 

( ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 


ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่บริเวณดังกล่าว

( ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

ภาพบน ) ผลของการคลิก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ กรอบสี่เหลี่ยม ที่อยู่ใต้คำว่า Delay นั้น

จะทำให้เกิด 
แถบสีเขียว ขึ้นครอบตัวเลข 0.016s 

ปรากฏอยู่ตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ให้พิมพ์ เลข 5 ลงไป ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

( คือการเปลี่ยนจากเลข 0.016s เป็นเลข 5 นั่นเอง )

ภาพบน ) คลิ๊ก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ตรงไหนก็ได้

ที่อยู่บริเวณด้านนอกของ กรอบสี่เหลี่ยม ที่อยู่ใต้คำว่า Delay นั้น

ยกตัวอย่างเช่น คลิ๊ก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "ก่อน" ที่เราจะคลิ๊ก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ตรงไหนก็ได้

ที่อยู่บริเวณด้านนอกของ กรอบสี่เหลี่ยม ที่อยู่ใต้คำว่า Delay นั้น

เมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่าตัวเลขยังเป็น 0.016s อยู่



ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "หลัง" จากที่เราคลิ๊ก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ตรงไหนก็ได้

ที่อยู่บริเวณด้านนอกของ กรอบสี่เหลี่ยม ที่อยู่ใต้คำว่า Delay นั้น

ซึ่งเมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้  

จะเห็นได้ว่าตัวเลขเปลี่ยนจาก 0.016s ไปเป็น 
5 s เรียบร้อยแล้ว


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ


ภาพบน ) ให้ทำกับตัวเลข 2 ตำแหน่งนี้ ( ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ทั้ง 2 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

ด้วยวิธีเดียวกัน ( คือให้เปลี่ยนจาก เลข 0.016 s ให้เป็น 5 s ด้วยวิธีเดียวกัน )



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

"ลัดขั้นตอน" มาถึงตอนที่แก้เลข 0.016 s ให้เป็น 5 s เรียบร้อยแล้ว

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


ภาพบน ) "ลัดขั้นตอน" มาถึงตอนที่แก้เลข 0.016 s ให้เป็น 5 s เรียบร้อยแล้ว

ซึ่ง ณ.ตอนนี้ เมื่อเราดูตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ทั้ง 3 อัน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ก็จะเห็นได้ว่ามันเป็นตัวเลข 5 s ทั้ง 3 อันแล้ว



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เสร็จแล้วครับ ขั้นตอนการ Set Macro

ณ.ตอนนี้ เราจะไป Set Tartarus กันนะครับ


ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

       สำหรับคุณผู้อ่านที่ต้องการจะศึกษาแค่การ Set Macro นั้น ขั้นตอนก็จะจบลงเท่านี้นะครับ  คือปิดโปรแกรมไปได้เลย ไม่ต้องทำอะไรต่ออีกแล้ว

       ส่วนในเนื้อหาถัดไปต่อจากนี้ จะเป็นเนื้อหาสำหรับผู้ที่มีอุปกรณ์ Tartarus ( เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการคลิ๊กปุ่มต่างๆนะครับ - ซึ่งมีรูปร่างหน้าตาเหมือนที่จะเห็นในภาพลำดับถัดไปนะครับ )


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )

ภาพบน ) คลิ๊กไปที่เมนู KEYPAD ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา

ก็จะเปลี่ยนไปที่หน้าของ Tartarus เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ปุ่มที่เราต้องการจะ Set ค่า

ยกตัวอย่างเช่นคลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ปุ่มที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ผลของคลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ปุ่มที่เราต้องการจะ Set ค่า 

ก็จะทำให้เกิดเมนูปรากฏขึ้นมาตรงที่มี 
ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้

( ภาพบน ) คลิ๊กไปที่เมนู MACRO ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ผลของการคลิ๊กไปที่เมนู MACRO ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

ก็จะมีหน้าเมนูใหม่ปรากฏขึ้นมา

ตรงบริเวณที่มี 
วงรีเส้นขอบสีส้ม ล้อมรอบอยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) ให้คลิกไปที่ "สามเหลี่ยมเล็กๆ กลับหัว" ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) จากการคลิกไปที่ "สามเหลี่ยมเล็กๆ กลับหัว "ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะมี "แถบตัวเลือก" "คลี่" ลงมาด้านล่าง

ปรากฏตรงบริเวณที่มี 
ปีกกาสีเขียว ครอบอยู่ในภาพข้างบนนี้ 

"แถบตัวเลือก" ที่ว่านี้ ก็คือคำสั่ง Macro ที่เรา Set เอาไว้ก่อนหน้านี้นั่นเอง )

ภาพบน ) คลิกเลือกไปที่ Macro ที่เราต้องการ

ซึ่ง ณ.ที่นี้ ก็คือการเลือกไปที่ Macro ชื่อ 1-Test

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

ภาพบน ) จากการที่คลิกเลือกไปที่ Macro ชื่อ 1-Test  ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะทำให้แถบเมนูนั้น "หุบ" กลับไปตามเดิม

ตามแนวของ 
เส้นประลูกศรสีม่วง ที่เห็นในภาพข้างบนนี้ 

ส่วนตัวหนังสือ 1-Test ก็จะปรากฏอยู่ในแถบเมนูนั้น

( ตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ )


ภาพบน ) จากนั้น ก็ให้คลิกไปที่ ปุ่ม Save ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

ภาพบน ) จากนั้นก็ให้ความสนใจไปที่ Slide Bar 

ที่อยู่ตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) คลิ๊ก "ค้าง" ไปที่ Slide Bar ดังกล่าว

แล้ว "ลาก" ไปตามแนวของ เส้นประลูกศรสีม่วง ที่เห็นในภาพข้างบนนี้
 

ให้ "ลาก" ไปจนกระทั่งเห็นภาพ Tartarus ได้ชัดเจน

( ตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ )

( ตอนแรก Tartarus มันหลบมุมอยู่นะครับ )

ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้เฉยๆ ตรงปุ่มที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

( ปุ่มตรงปุ่มที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ก็คือ

ปุ่มที่เราพึ่ง Set Macro ชื่อ 1-Test เมื่อสักครู่นี้นั่นเอง )


ภาพบน ) ผลของการที่เราเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้เฉยๆที่ปุ่มนี้

ก็จะเกิด "รายละเอียด" ของคำสั่งที่ใส่ไว้ในปุ่มนี้

ปรากฏขึ้นมา ตรงบริเวณที่มี 
ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้


       ภาพบน ) เราเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้เฉยๆที่ปุ่มนี้ แล้วมันโชว์ "รายละเอียด" ของคำสั่งที่ใส่ไว้ในปุ่มนี้ ( ปรากฏขึ้นมา ตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้ )  

        ที่เราทำอย่างนี้ ( คือ ทำให้มันโชว์ "รายละเอียด" ของคำสั่ง ) ก็เพื่อ ลองทดสอบ ดูว่าปุ่มนี้ มันใช้งานได้หรือไม่  /  ซึ่งมันก็ใช้งานได้แล้วจริงๆ เพราะมันโชว์คำสั่งขึ้นมาว่า ปุ่มนี้ ใส่คำสั่ง Macro ที่ชื่อ 1-Test เอาไว้แล้ว  ( ปรากฏขึ้นมา ตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้ ) 

        พูดง่ายๆว่า เราทำไปเพื่อ ลองทดสอบ เท่านั้นเอง / 



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

วิธี "ลบ" Macro ที่เราตั้งเอาไว้

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ภาพบน ) คลิกไปที่ สัญลักษณ์ “...” เสียก่อน ( ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

จากนั้น ก็ให้คลิกไปที่เมนู MACRO ( ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ )

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )

ภาพบน ) คลิกไปที่ สัญลักษณ์ “...” ของ Macro ที่เราต้องการจะลบ

ซึ่งในที่นี้ เราต้องการจะลบ Macro ที่ชื่อ 1-Test

ดังนั้น เราจึงคลิกไปที่ สัญลักษณ์ “...” ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) จากการคลิกไปที่ สัญลักษณ์ “...” ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะมี "แถบตัวเลือก" คลี่ลงมาด้านล่าง

ปรากฏตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ในภาพข้างบนนี้ 


ภาพบน ) คลิกเลือกไปที่คำสั่ง Delete  

ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ผลของการที่เราคลิกเลือกไปที่คำสั่ง Delete ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะปรากฏข้อความขึ้นมาตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ข้อความที่ปรากฏขึ้นมานี้ จะเตือน และถามเราในทำนองที่ว่า  "แน่ใจไหมที่จะลบ?"

ภาพบน ) ในเมื่อเรามั่นใจแล้วว่าต้องการจะลบ Macro ที่ชื่อ 1-Test

ดังนั้น ก็ให้เราคลิกไปที่ปุ่ม Delete ตรงที่
 ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ผลของการที่เราคลิกไปที่ ปุ่ม Delete ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

เมื่อดูตรงบริเวณที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ จะเห็นได้ว่า

คำสั่ง 1-Test ที่เคยตั้งอยู่ตรงตำแหน่งนี้ ได้ “หายไปแล้ว


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ไปดูผลของการที่เรา Delete คำสั่ง Macro ที่ชื่อ 1-Test

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


ภาพบน ) คลิ๊กไปที่เมนู KEYPAD ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ

ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้เฉยๆ ตรงปุ่มที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

( ปุ่มตรงปุ่มที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ก็คือ

ปุ่มที่เราเคย Set Macro ชื่อ 1-Test เอาไว้นั่นเอง )


ภาพบน ) ดูคำอธิบายด้านล่างนะครับ .... 

      ( ภาพบน ) ผลของการที่เราเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปวางไว้เฉยๆที่ปุ่มนี้ ก็จะเกิด "รายละเอียด" ของคำสั่งที่ใส่ไว้ในปุ่มนี้ ปรากฏขึ้นมา ตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้

       ซึ่ง "รายละเอียด" ของคำสั่งที่ใส่ไว้ในปุ่มนี้ ( ตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้ ) จะเห็นได้ว่า คำสั่ง Macro ที่ชื่อ 1-Test ได้หายไปแล้ว

ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 



ภาพบน ) ถ้าเราไม่ทำอะไรกับโปรแกรมนี้แล้ว ก็ให้คลิกไปที่เครื่องหมาย กากบาท ( )

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ เพื่อปิดหน้าโปรแกรมนี้ไป



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

"ในอนาคต" เมื่อต้องการจะเปิดโปรแกรมนี้ขึ้นมาอีกครั้ง จะทำอย่างไร?

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


ภาพบน ) ในหน้า Desktop ของคอมพิวเตอร์เรานั้น

ให้ดูตรงบริเวณที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) ภาพขยายของส่วนที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพก่อนหน้านี้



ภาพบน ) จากนั้น ก็ให้คลิกไปที่ เครื่องหมาย ^ ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) จากการคลิกไปที่  เครื่องหมาย ^ ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะมี "แถบตัวเลือก" "คลี่" ขึ้นมาด้านบน 

ปรากฏตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไป วางไว้เฉยๆ ตรง Shortcut

อันที่มี ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) จากนั้นก็ให้ คลิก "ขวา" ไปที่ตำแหน่งนั้น

( คือตำแหน่งของ Shortcut อันนั้น )

ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ผลชองการคลิก "ขวา" ไปที่ตำแหน่งนั้น ( คือตำแหน่งของ Shortcut อันนั้น )

มีผลทำให้เกิด "แถบตัวเลือก" "คลี่" ออกมา

เหมือนที่เห็นตรงบริเวณที่มี ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ในภาพข้างบนนี้

ภาพบน ) ให้คลิ๊กไปที่เมนู Razer Synapse

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) จากการคลิ๊กไปที่เมนู Razer Synapse ใน "ภาพก่อนหน้านี้" นั้น

จะทำให้โปรแกรม Razer Synapse ถูกเปิดออกมา

เหมือนที่เห็นตรงที่ ลู
กศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ

- END -

 1  <  2