Wednesday, October 19, 2022

ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : คำขอขมาโทษ

 




คำขอขมาโทษ

* * * พิธีขมาหลายคน

ผู้ขอ - เถเร ปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง , สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต. ( 3 หน ) 

ผู้รับ - อะหัง ขะมามิ ตุมเหหิปิ เม ขะมิตัพพัง 

ผู้ขอ -  ขะมามะ ภันเต 



* * * พิธีขมาคนเดียว

ผู้ขอ - เถเร ปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง , สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต. ( 3 หน ) 

ผู้รับ - อะหัง ขะมามิ ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง 

ผู้ขอ - ขะมามิ ภันเต 



* * * คำตอบรับผู้มาขอขมา ( ที่เป็นพุทธวจน )

-บาลี จุลฺล. วิ. 7/180/369

       “ยะโต จะ โข ตะวัง อาวุโส อัจจะยัง อัจจะยะโต ทิส๎วา ยะถาธัมมัง ปะฏิกะโรสิ ตันเต มะยัง ปะฏิคคัณหามะ วุทธิ เหสา อาวุโส อะริยัสสะ วินะเย โย อัจจะยัง อัจจะยะโต ทิส๎วา ยะถาธัมมัง ปะฏิกะโรติ อายะติง สังวะรัง อาปัชชะติ” 

       เมื่อใดท่านเห็นโทษ โดยความเป็นโทษ แล้วทำคืนตามธรรม เมื่อนั้น เรารับโทษนั้นของท่าน เพราะผู้ใดเห็นโทษโดยความเป็นโทษ แล้ว ทำคืนตามธรรม /////  ถึงความสำรวมต่อไป ข้อนั้น เป็นความเจริญในอริยวินัย 



* * * คำสัตตาหะกะระณียะ

       “สัตตาหะกะระณียัง กิจจัง เม อัตถิ ตัสมา มะยา คันตัพพัง อิมัส๎มิง สัตตาหัพภันตะเร นิวัตติสสามิ” 



* * * คำ กรานกฐิน  /////  

ผ้าสังฆาฏิ - อิมายะ สังฆาฏิยากะฐินัง อัตถะรามิ 

ผ้าอุตตราสงค์ - อิมินา อุตตะราสังเฆนะ กะฐินัง อัตถะรามิ 

ผ้าอันตรวาสก - อิมินา อันตะระวาสะเกนะ กะฐินัง อัตถะรามิ 



* * * คำอนุโมทนากฐิน 

       อันภิกษุผู้กรานกฐินนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่ม ผ้าอุตราสงค์ /////  เฉวียงบ่า ประคองอัญชลี กล่าวอย่างนี้ว่า 

       “อัตถะตัง อาวุโส ( ภันเต ) สังฆัสสะ กะฐินัง , ธัมมิโก กะฐินัตถาโร , อะนุโมทะถะ

       ท่านเจ้าข้า กฐินของสงฆ์กรานแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม

       ขอท่านทั้งหลาย อนุโมทนาเถิด” 


       ภิกษุผู้อนุโมทนาเหล่านั้น พึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ประคองอัญชลี กล่าวอย่างนี้ ว่า

       “อัตถะตัง ภันเต ( อาวุโส ) สังฆัสสะ กะฐินัง , ธัมมิโก กะฐินัตถาโร , อะนุโมทามะ

       ผู้มีอายุ กฐินของสงฆ์กรานแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม 

       เราทั้งหลาย อนุโมทนา” 



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : คำขอขมาโทษ  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,100 , 1,101



- จบ -

กรานกฐิน

 



กรานกฐิน

       บาลีว่าอย่างไร 

       อ่านว่า กฺราน-กะ-ถิน 

       “กราน” เป็นภาษาเขมร แปลว่า “ขึง” คือทำให้ตึง 

       “กฐิน” เป็นภาษาบาลี แปลว่า “ไม้สะดึง” 

       “กรานกฐิน” ก็คือ “ขึงไม้สะดึง” คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง แล้วเย็บจนทำเป็นจีวรสำเร็จพร้อมที่จะครองคือใช้ห่มต่อไป 

       “กรานกฐิน” แปลเป็นภาษาบาลีว่า “กฐินตฺถาร” ( กะ-ถิ-นัด-ถา-ระ ) ประกอบด้วยคำว่า กฐิน + อตฺถาร 


( 1 ) “กฐิน”

       บาลีอ่านว่า กะ-ถิ-นะ รากศัพท์มาจาก กฐฺ ( ธาตุ = อยู่ลำบาก ) + อิน ปัจจัย

       : กฐฺ + อิน = กฐิน แปลตามศัพท์ว่า “ภาวะที่อยู่ลำบาก” 

       คำว่า “กฐิน” ในบาลี :

       ( 1 ) ถ้าเป็นคำนาม ( นปุงสกลิงค์ ) แปลว่า “ไม้สะดึง” คือไม้แบบสำหรับขึงเพื่อตัดเย็บจีวร


       พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปลคำว่า “กฐิน” (คำนาม) ว่า -

       the cotton cloth which was annually supplied by the laity to the bhikkhus for the purpose of making robes , also a wooden frame used by the bh. in sewing their robes ( ผ้าฝ้ายที่ฆราวาสถวายประจำปีแก่ภิกษุเพื่อทำจีวร , ไม้สะดึงที่ภิกษุใช้เย็บจีวร ) 


       ( 2 ) ถ้าเป็นคุณศัพท์ มีความหมายว่า แข็ง , แนบแน่น , ไม่คลอนแคลน , หนัก , หยาบกร้าน , โหดร้าย ( hard , firm , stiff , harsh , cruel )

       ในที่นี้ “กฐิน” หมายถึง ไม้สะดึง คือกรอบไม้ที่ขึงออกเพื่อเย็บผ้า ( a wooden frame ) 


       คำว่า “สะดึง” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า -

       “สะดึง : (คำนาม) กรอบไม้สําหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร , กรอบไม้หรือไม้แบบสําหรับขึงผ้าในเวลาปักดิ้นหรือไหมเป็นต้น, ขอบไม้สําหรับขึงเปล มี 4 ด้าน” 



( 2 ) “อตฺถาร” ( อัด-ถา-ระ ) 

       รากศัพท์มาจาก อา ( คำอุปสรรค = ทั่วไป, ยิ่ง ) + ถรฺ ( ธาตุ = ปูลาด , แผ่ไป ) + ณ ปัจจัย, ลบ ณ, รัสสะ อา เป็น อ, ซ้อน ตฺ ระหว่างอุปสรรคกับธาตุ ( อา > อ + ตฺ + ถรฺ ) , ทีฆะต้นธาตุ “ด้วยอำนาจปัจจัยเนื่องด้วย ณ” ( ถรฺ > ถาร ) 

       : อา > อ + ตฺ + ถรฺ = อตฺถรฺ + ณ = อตฺถรณ > อตฺถร > อตฺถาร แปลตามศัพท์ว่า “สิ่งอันเขาปูลาดไว้โดยยิ่ง” หมายถึง ขึงไป, แผ่ไป ( spreading out ) 

       กฐิน + อตฺถาร = กฐินตฺถาร แปลว่า “การขึงไม้สะดึง” หมายถึง การกรานกฐิน 

       พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปล “กฐินตฺถาร” ว่า the spreading out, i. e. dedication of the k. cloth by the people to the community of bhikkhus. ( การกรานกฐิน , คือ ประชาชนอุทิศผ้ากฐินทานแด่หมู่ภิกษุสงฆ์ ) 


       พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า - 

       “กรานกฐิน : ( คำกริยา ) ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา , ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน , สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า กรานกฐิน ( อุปสมบทวิธี ) ( ดู กฐิน )  ( ข. กราล ว่า ปู , ลาด )” 

       พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่าน ป.อ. ปยุตฺโต ขยายความไว้ดังนี้ -

       กรานกฐิน : ขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์ เพื่ออนุโมทนา ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้นเรียกว่า ผู้กราน 

       พิธีทำในบัดนี้คือ ภิกษุซึ่งจำพรรษาครบสามเดือนในวัดเดียวกัน ( ต้องมีจำนวน 5 รูปขึ้นไป ) ประชุมกันในอุโบสถ พร้อมใจกันยกผ้ากฐินให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งในหมู่พวกเธอ ภิกษุรูปที่ได้รับผ้านั้นทำกิจ ตั้งแต่ ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อมให้เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครองผืนใดผืนหนึ่งในไตรจีวร แล้วบอกแก่สงฆ์ผู้ยกผ้าให้เพื่ออนุโมทนา เรียกว่า กรานกฐิน 

       ถ้าผ้ากฐินเป็นจีวรสำเร็จรูป ( เรียกว่าผ้ากฐินมีบริกรรมสำเร็จแล้ว ) กิจที่จะต้อง ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม ก็ไม่มี ภิกษุที่ได้รับมอบให้แล้ว จึงทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครองผืนใดผืนหนึ่งในไตรจีวร แล้วแจ้งแก่สงฆ์เพื่ออนุโมทนาต่อเนื่องไปเลย 



* * * : ข้างบนนี้ เอาข้อมูลมาจาก : http://dhamma.serichon.us/2018/09/13/กรานกฐิน-บาลีว่าอย่างไร/  


- - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


- จบ -

ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : คำอธิษฐานเข้าพรรษา

 




คำอธิษฐานเข้าพรรษา

อิมัส๎มิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ 



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : คำอธิษฐานเข้าพรรษา  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,100 


- จบ -

ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : วิธีพินทุและอธิษฐานบริขาร

 




ส่วนปิดท้ายภาคผนวก * * * ( 1 ) 



* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *  

วิธีพินทุและอธิษฐานบริขาร 

วิธีพินทุ

- บาลี มหา. วิ. 5/368-9/410 


       ในอรรถกถาว่า การทำให้จีวรที่ได้มาใหม่เสียสีหรือมีตำหนิด้วยสีเขียว สีตม หรือสีดำคล้ำ มักทำจุดเป็นวงกลมอย่างใหญ่เท่าแววตานกยูง อย่างเล็กเท่าหลังตัวเรือด ที่มุมจีวรพร้อมกับกล่าวคำว่า “อิมัง พินทุกัปปัง กะโรมิ” 


คำอธิษฐานบริขาร 

       คำอธิษฐานบริขารสิ่งเดียว ใน หัตถบาส /////  ว่า 3 หน

ชนิดบริขาร - บาตร  /  คำอธิษฐาน - อิมัง ปัตตัง อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - สังฆาฏิ  /  คำอธิษฐาน - อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ  

ชนิดบริขาร - อุตตราสงค์ ( จีวร )  /  คำอธิษฐาน - อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - อันตรวาสก ( สบง )  /  คำอธิษฐาน - อิมัง อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ  

ชนิดบริขาร - นิสีทนะ (ผ้าปูนั่ง)  /  คำอธิษฐาน - อิมัง นิสีทะนัง อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - ผ้าอาบน้ำฝน  /  คำอธิษฐาน - อิมัง วัสสิกะสาฏิกัง อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - ผ้าปิดฝี  /  คำอธิษฐาน - อิมัง กัณฑุปะฏิจฉาทิง อะธิฏฐามิ  

ชนิดบริขาร - ผ้าปูนอน  /  คำอธิษฐาน - อิมัง ปัจจัตถะระณัง อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - ผ้าเช็ดหน้า เช็ดปาก  /  คำอธิษฐาน - อิมัง มุขะปุญฉะนะโจลัง อะธิฏฐามิ   

ชนิดบริขาร - ผ้าบริขาร  /  คำอธิษฐาน - อิมัง ปะริกขาระโจลัง อะธิฏฐามิ 



       คำอธิษฐานบริขารหลายสิ่ง ในหัตถบาส ว่า 3 หน  

ชนิดบริขาร - ผ้าปูนอน  /  คำอธิษฐาน - อิมานิ ปัจจัตถะระณานิ อะธิฏฐามิ 

ชนิดบริขาร - ผ้าเช็ดหน้า เช็ดปาก  /  คำอธิษฐาน - อิมานิ มุขะปุญฉะนะโจลานิ อะธิฏฐามิ  

ชนิดบริขาร - ผ้าบริขาร  /  คำอธิษฐาน - อิมานิ ปะริกขาระโจลานิ อะธิฏฐาม  



คำถอนอธิษฐานบริขาร

       คำถอนอธิษฐานนั้น พึงว่าทุกอย่างเหมือนกับการอธิษฐาน แต่จะเปลี่ยนเฉพาะคำว่า อะธิฏฐามิเป็น ปัจจุทธะรามิ



คำวิกัปบริขาร

( วิธีการวิกัปและถอนวิกัปนี้ มีอธิบายไว้ในสิกขาบทวิภังค์ สุราปานวรรค สิกขาบทที่ 9 หน้า 144 ) 

คำวิกัป ต่อหน้าผู้รับ ในหัตถบาส ว่าดังนี้ ( 3 หน ) 

จีวรผืนเดียว - อิมัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิ 

จีวรหลายผืน - อิมานิ จีวะรานิ ตุยหัง วิกัปเปมิ 

บาตรใบเดียว - อิมัง ปัตตัง ตุยหัง วิกัปเปมิ 

บาตรหลายใบ - อิมานิ ปัตตานิ ตุยหัง วิกัปเปมิ 



คำถอนวิกัป 

ผู้ถอนแก่พรรษากว่า ในหัตถบาส ว่าดังนี้ ( 3 หน ) 

จีวรผืนเดียว - อิมัง จีวะรัง มัยหัง สันตะกัง ปริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ 

จีวรหลายผืน - อิมานิ จีวะรานิ มัยหัง สันตะกานิ ปริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ

บาตรใบเดียว - อิมัง ปัตตัง มัยหัง สันตะกัง ปริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ 

บาตรหลายใบ - อิมานิ ปัตตานิ มัยหัง สันตะกานิ ปริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ

( ผู้ถอนอ่อนพรรษากว่า ในหัตถบาส ให้เปลี่ยน กะโรหิเป็น กะโรถะ ) 


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


* * * ( 1 ) : เป็นส่วนที่ผู้จัดทำยังไม่พบวิธีการที่เป็นพุทธวจน - ผู้รวบรวม 



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ส่วนปิดท้ายภาคผนวก : วิธีพินทุและอธิษฐานบริขาร  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,097 , 1,098 , 1,099


- จบ -
   

หัตถบาส

 




       หัตถบาส ( อ่านว่า หัด-ถะ-บาด ) แปลว่า บ่วงมือ

       หัตถบาส ใช้เรียกการนั่งของพระสงฆ์ในเวลาทำสังฆกรรมเพื่อแสดงความสามัคคีความพร้อมเพรียง โดยนั่งเว้นระยะห่างกันตามพระวินัยกำหนดอยู่ในที่ประชุมโดยไม่นั่งแยกกันหรือลุกเดินไปทางโน้นทางนี้ เรียกว่า นั่งหัตถบาส 

       หัตถบาส มีกำหนดระยะห่าง 2 ศอก คืบ มีวิธีวัดดังนี้ เมื่อภิกษุนั่งพับเพียบอยู่ ให้วัดจากด้านหลังของเธอมาถึงหน้าตักของเธอจะได้ระยะ 1 ศอก แล้ววัดจากหน้าตักของเธอออกไปข้างหน้าอีก 1 ศอก 1 คืบ จะรวมได้เป็น 2 ศอก 1 คืบ นี้คือระยะหัตถบาส   



* * * : ข้างบนนี้ เอาข้อมูลมาจาก : https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=1557  และ : https://dhamtara.com/?p=2210 


- - - - - - - - - - - - - - - - - - -  


- จบ -

ภาคผนวก : กรรมวาจากฐิน

 




กรรมวาจากฐิน 

* * * คำอุปโลกน์กฐิน 

อุปโลกน์ 1  

       ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า 

       ผ้าทั้งหลายเหล่านี้ เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์ ผู้อยู่จำพรรษาถ้วนไตรมาส ในเขต สีมา วัด /////   .........( ระบุชื่อ ).........

       ข้าพเจ้าขอเป็นตัวแทนของคณะสงฆ์ เพื่อจัดแบ่งผ้าที่ได้รับมาจากคหบดีผู้มีจิตศรัทธา แสดงเจตนาถวายผ้ากฐิน ที่ได้พร้อมเพรียงกันนำมาถวายนั้น มอบให้แก่ภิกขุผู้มีจีวรเก่าคร่ำคร่า และเป็นผู้มีศีลอันเป็นที่รักของเพื่อนผู้ประพฤติพรหมจรรย์ด้วยกัน เพื่อยังผ้านี้ให้สำเร็จประโยชน์ในการที่จะตัด เย็บ ย้อม เป็นจีวรในกาลต่อไป

       หากคณะสงฆ์ พิจารณาเห็นสมควรมอบผ้าเหล่านี้ให้แก่ภิกขุใด ขอจงยินยอมอนุญาตให้แก่ภิกขุรูปนั้น 


       ( หยุดรออุปโลกน์รูปที่ 2 ) 


อุปโลกน์ 2

       ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า 

       คณะสงฆ์ได้พิจารณาแล้ว เห็นสมควรว่า ภิกขุ .........( ระบุชื่อ )......... เป็นผู้เหมาะสม ที่จะได้รับมอบผ้ากฐินทั้งหลายเหล่านี้ 

       การให้ผ้ากฐินทั้งหลายเหล่านี้แก่ภิกขุ .............( ระบุชื่อ ).............. ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด 

       ( หยุดสักระยะหนึ่ง ) 

       ผ้ากฐินทั้งหลายเหล่านี้ สงฆ์ให้แล้วแก่ภิกขุ .............( ระบุชื่อ )..............  เพื่อตัด เย็บ ย้อม เป็นจีวร ชอบแก่สงฆ์ เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง

       ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ ด้วยอย่างนี้ 



       ภิกขุรูปหนึ่งกล่าว : สังฆกรรมในการอุปโลกน์กฐิน ได้สำเร็จแล้วโดยธรรม ขอคณะสงฆ์ได้อนุโมทนาขึ้นพร้อมกันเทอญ 


       จบแล้วให้คณะสงฆ์สาธุขึ้นโดยพร้อมเพรียงกัน ) 



* *  * แบบกรรมวาจาสวดให้ผ้ากฐิน 

       นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 

       นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 

       นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 

       สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ , อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง , ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง , สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ ทะเทยยะ , กะฐินัง อัตถะริตุง , เอสา ญัตติ 

       สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ , อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง , สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ เทติ , กะฐินัง อัตถะริตุง , ยัสสายัส๎มะโต ขะมะติ , อิมัสสะ กะฐินะทุสสัสสะ , อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ ทานัง , กะฐินัง อัตถะริตุง , โส ตุณ๎หัสสะ , ยัสสะนักขะมะติ, โส ภาเสยยะ 

       ทินนัง อิทัง สังเฆนะ , กะฐินะทุสสัง อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ กะฐินัง อัตถะริตุง , ขะมะติ สังฆัสสะ , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ


       ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า 

       ผ้ากฐินผืนนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้ผ้ากฐินผืนนี้แก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้เพื่อกรานกฐิน 

       นี้เป็นญัตติ


       ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า

       ผ้ากฐินผืนนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์ สงฆ์ให้ผ้ากฐินผืนนี้ แก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อกรานกฐินการให้ผ้ากฐินผืนนี้ แก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อกรานกฐิน ย่อมชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง

       ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด 

       ผ้ากฐินผืนนี้ สงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้เพื่อจะกรานกฐินย่อมชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่งอยู่ 

       ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้ 


       ( คำว่า อิตถันนามัสสะ ใช้เปลี่ยนตามชื่อของภิกษุผู้รับผ้ากฐิน เช่น ขันติธัมโม เปลี่ยนเป็น ขันติธัมมัสสะ ถ้าภิกษุนั้นอ่อนกว่าผู้สวด ต้องตัด
อายัส๎มะโต ออกเสีย แล้วเติม ภิกขุโน ต่อท้ายคำ อิตถันนามัสสะ เช่น อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ เปลี่ยนเป็น อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน ) 




* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : กรรมวาจากฐิน  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,094 , 1,095 , 1,096


- จบ -


ภาคผนวก : ปวารณา

 




ปวารณา

* * * สังฆปวารณา ( มีภิกษุตั้งแต่ 5 รูปขึ้นไป พึงตั้งญัตติ ดังนี้ว่า ) * * * ( 1 ) 

       “สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ , อัชชะ ปะวาระณา ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง , สังโฆ ปะวาเรยยะ” 

       “ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า 

       วันนี้เป็น วันปวารณา /////  ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงปวารณา” 


       ภิกษุผู้ เถระ /////  พึงห่มผ้า อุตราสงค์ /////  เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง /////  ประคองอัญชลี แล้วกล่าวปวารณาอย่างนี้ ว่าดังนี้

       สังฆัง อาวุโส ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา , วะทันตุ มัง อายัส๎มันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ , ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ 

       ทุติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา , วะทันตุ มัง อายัส๎มันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ , ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ 

       ตะติยัมปิ อาวุโส สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา , วะทันตุ มัง อายัส๎มันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ , ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ 


       ภิกษุผู้ นวกะ /////  พึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวปวารณา ( เช่นเดียวกัน โดยเปลี่ยนคำว่า อาวุโส เป็น ภันเต ) 



* * * คณะปวารณา ( มีภิกษุ 4 รูป หรือ 3 รูป ) 

       ภิกษุ 4 รูปพึงตั้งญัตติ ดังนี้ว่า

       สุณันตุ เม อายัส๎มันโต , อัชชะ ปะวาระณา ยะทายัส๎มันตานัง ปัตตะกัลลัง , มะยัง อัญญะมัญญัง ปะวาเรยยามะ 

       ( ถ้ามีภิกษุ 3 รูป ให้เปลี่ยนคำว่า อายัส๎มันโต เป็น อายัส๎มันตา ) 


       ภิกษุผู้เถระพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวปวารณาอย่างนี้ ว่าดังนี้ 

       อะหัง อาวุโส อายัส๎มันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา … ฯลฯ  … ปะฏิกกะริสสามิ ,

       ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต … ปะฏิกกะริสสามิ , 

       ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันเต … ปะฏิกกะริสสามิ 


       ภิกษุผู้นวกะพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวปวารณา ( เช่นเดียวกัน โดยเปลี่ยนคำว่า อาวุโส เป็น ภันเต ) 



* * * คณะปวารณา ( มีภิกษุ 2 รูป ) 

       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุทั้งสองพึงปวารณาอย่างนี้ : 

       ภิกษุผู้เถระพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำปวารณาต่อภิกษุผู้นวกะอย่างนี้ ว่าดังนี้ : 

       อะหัง อาวุโส อายัส๎มันตัง … ฯลฯ … ปะฏิกกะริสสามิ ,

       ทุติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง … ฯลฯ … ปะฏิกกะริสสามิ , 

       ตะติยัมปิ อาวุโส อายัส๎มันตัง … ฯลฯ … ปะฏิกกะริสสามิ , 


       ภิกษุผู้นวกะพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประคองอัญชลี แล้วกล่าวคำปวารณาต่อภิกษุผู้เถระ ( เช่นกัน โดยเปลี่ยนคำว่า อาวุโส เป็น ภันเต ) 



* * * อธิษฐานปวารณา ( มีภิกษุรูปเดียว ) 

       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ใน อาวาส /////  แห่งหนึ่ง ถึงวันปวารณา มีภิกษุ ในศาสนานี้อยู่รูปเดียว ภิกษุนั้นพึงกวาดสถานที่เป็นที่ไปมาแห่งภิกษุทั้งหลาย คือจะเป็นโรงฉัน มณฑปหรือโคนต้นไม้ ก็ตาม แล้วจัดตั้งน้ำฉัน น้ำใช้ไว้ ปูอาสนะ ตามประทีป แล้วนั่งรออยู่ 

       หากมีภิกษุเหล่าอื่นมา พึงปวารณาร่วมกับพวกเธอ 

       หากไม่มีมาพึง อธิษฐานว่า “อัชชะ เม ปะวาระณา ปวารณาของเราวันนี้” 

       หากไม่อธิษฐาน ต้อง อาบัติทุกกฏ /////  


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

* * * ( 1 ) : คำบาลีที่ใช้เหล่านี้นำมาจาก คัมภีร์มหาวรรค ภาค 1 พระไตรปิฎกบาลีสยามรัฐ เล่ม 4 ข้อ 225 หน้า 312 - ผู้รวบรวม 
   


* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : ปวารณา  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,092 , 1,093  


- จบ -

Tuesday, October 18, 2022

ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 4  ( หน้าสุดท้าย ) 

 

- หน้า 4 ( หน้าสุดท้าย ) -



       71. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขูหิ สะหะธัมมิกัง วุจจะมาโน เอวัง วะเทยยะ ‘นะ ตาวาหัง อาวุโส เอตัส๎มิง สิกขาปะเท สิกขิสสามิ , ยาวะ นัญญัง ภิกขุง พ๎ยัตตัง วินะยะธะรัง ปะริปุจฉามีติ , ปาจิตติยัง. สิกขะมาเนนะ ภิกขะเว ภิกขุนา อัญญาตัพพัง ปะริปุจฉิตัพพัง ปะริปัญหิตัพพัง , อะยัง ตัตถะ สามีจิ 


       72. โย ปะนะ ภิกขุ ปาฏิโมกเข อุททิสสะมาเน เอวัง วะเทยยะ “กิมปะนิเมหิ ขุททานุขุททะเกหิ สิกขาปะเทหิ อุททิฏเฐหิ , ยาวะเทวะ กุกกุจจายะ วิเหสายะ วิเลขายะ สังวัตตันตีติ , สิกขาปะทะวิวัณณะนะเก ปาจิตติยัง 


       73. โย ปะนะ ภิกขุ อัน๎วัฑฒะมาสัง ปาฏิโมกเข อุททิสสะมาเน เอวัง วะเทยยะ “อิทาเนวะ โข อะหัง อาชานามิ ‘อะยัมปิ กิระ ธัมโม สุตตาคะโต สุตตะปะริยาปันโน อัน๎วัฑฒะมาสัง อุทเทสัง อาคัจฉะตีติ ; ตัญเจ ภิกขุง อัญเญ ภิกขู ชาเนยยุง “นิสินนะปุพพัง อิมินา ภิกขุนา ท๎วิตติกขัตตุง ปาฏิโมกเข อุททิสสะมาเน โก ปะนะ วาโท ภิยโยติ , นะ จะ ตัสสะ ภิกขุโน อัญญาณะเกนะ มุตติ อัตถิ , ยัญจะ ตัตถะ อาปัตติง อาปันโน , ตัญจะ ยะถาธัมโม กาเรตัพโพ ; อุตตะริญจัสสะ โมโห อาโรเปตัพโพ “ตัสสะ เต อาวุโส อะลาภา , ตัสสะ เต ทุลลัทธัง; ยัง ตะวัง ปาฏิโมกเข อุททิสสะมาเน นะ สาธุกัง อัฏฐิกัต๎วา มะนะสิกะโรสีติ ; อิทัง ตัส๎มิง โมหะนะเก ปาจิตติยัง 


       74. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ กุปิโต อะนัตตะมะโน ปะหารัง ทะเทยยะ , ปาจิตติยัง 


       75. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ กุปิโต อะนัตตะมะโน ตะละสัตติกัง อุคคิเรยยะ , ปาจิตติยัง 


       76. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง อะมูละเกนะ สังฆาทิเสเสนะ อะนุทธังเสยยะ , ปาจิตติยัง 


       77. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ สัญจิจจะ กุกกุจจัง อุปะทะเหยยะ “อิติสสะ มุหุตตัมปิ อะผาสุ ภะวิสสะตีติ เอตะเทวะ ปัจจะยัง กะริต๎วา อะนัญญัง , ปาจิตติยัง 


       78. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขูนัง ภัณฑะนะชาตานัง กะละหะชาตานัง วิวาทาปันนานัง อุปัสสุติง ติฏเฐยยะ “ยัง อิเม ภะณิสสันติ , ตัง โสสสามีติ เอตะเทวะ ปัจจะยัง กะริต๎วา อะนัญญัง , ปาจิตติยัง 


       79. โย ปะนะ ภิกขุ ธัมมิกานัง กัมมานัง ฉันทัง ทัต๎วา ปัจฉา ขิยยะนะธัมมัง อาปัชเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       80. โย ปะนะ ภิกขุ สังเฆ วินิจฉะยะกาถายะ วัตตะมานายะ ฉันทัง อะทัต๎วา อุฏฐายาสะนา ปักกะเมยยะ , ปาจิตติยัง 


       81. โย ปะนะ ภิกขุ สะมัคเคนะ สังเฆนะ จีวะรัง ทัต๎วา ปัจฉา ขิยยะนะธัมมัง อาปัชเชยยะ “ยะถาสันถุตัง ภิกขู สังฆิกัง ลาภัง ปะริณาเมนตีติ , ปาจิตติยัง 


       82. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง สังฆิกัง ลาภัง ปะริณะตัง ปุคคะลัสสะ ปะริณาเมยยะ , ปาจิตติยัง 

       สะหะธัมมิกะวัคโค อัฏฐะโม 


       83. โย ปะนะ ภิกขุ รัญโญ ขัตติยัสสะ มุทธาภิสิตตัสสะ อะนิกขันตะราชะเก อะนิคคะตะระตะนะเก ปุพเพ อัปปะติสังวิทิโต อินทะขีลัง อะติกกาเมยยะ , ปาจิตติยัง 


       84. โย ปะนะ ภิกขุ ระตะนัง วา ระตะนะสัมมะตัง วา อัญญัต๎ระ อัชฌารามา วา อัชฌาวะสะถา วา อุคคัณเหยยะ วา อุคคัณหาเปยยะ วา , ปาจิตติยัง

       ระตะนัง วา ปะนะ ภิกขุนา ระตะนะสัมมะตัง วา อัชฌาราเม วา อัชฌาวะสะเถ วา อุคคะเหต๎วา วา อุคคัณหาเปต๎วา วา นิกขิปิตัพพัง “ยัสสะ ภะวิสสะติ โส หะริสสะตีติ : อะยัง ตัตถะ สามีจิ 


       85. โย ปะนะ ภิกขุ สันตัง ภิกขุง อะนาปุจฉา วิกาเล คามัง ปะวิเสยยะ , อัญญัต๎ระ ตะถารูปา อัจจายิกา กะระณียา, ปาจิตติยัง 


       86. โย ปะนะ ภิกขุ อัฎฐิมะยัง วา ทันตะมะยัง วา วิสาณะมะยัง วา สูจิฆะรัง การาเปยยะ , เภทะนะกัง ปาจิตติยัง 


       87. นะวัมปะนะ ภิกขุนา มัญจัง วา ปีฐัง วา การะยะมาเนนะ อัฎฐังคุละปาทะกัง กาเรตัพพัง สุคะตังคุเลนะ อัญญัต๎ระ เหฏฐิมายะ อะฏะนิยา , ตัง อะติกกามะยะโต เฉทะนะกัง ปาจิตติยัง 


       88. โย ปะนะ ภิกขุ มัญจัง วา ปีฐัง วา ตูโลนัทธัง การาเปยยะ , อุททาละนะกัง ปาจิตติยัง 


       89. นิสีทะนัมปะนะ ภิกขุนา การะยะมาเนนะ ปะมาณิกัง กาเรตัพพัง ; ตัต๎ริทัง ปะมาณัง : ทีฆะโส เท๎ว วิทัตถิโย สุคะตะวิทัตถิยา, ติริยัง ทิยัฑฒัง , ทะสา วิทัตถิ , ตัง อะติกกามะยะโต เฉทะนะกัง ปาจิตติยัง 


       90. กัณฑุปะฏิจฉาทิง ปะนะ ภิกขุนา การะยะมาเนนะ ปะมาณิกา กาเรตัพพา ; ตัต๎ริทัง ปะมาณัง : ทีฆะโส จะตัสโส วิทัตถิโย สุคะตะวิทัตถิยา ติริยัง เท๎ว วิทัตถิโย , ตัง อะติกกามะยะโต เฉทะนะกัง ปาจิตติยัง 


       91. วัสสิกะสาฏิกัง ปะนะ ภิกขุนา การะยะมาเนนะ ปะมาณิกา กาเรตัพพา ; ตัต๎ริทัง ปะมาณัง : ทีฆะโส ฉะ วิทัตถิโย สุคะตะวิทัตถิยา ติริยัง อัฑฒะเตยยา , ตัง อะติกกามะยะโต เฉทะนะกัง ปาจิตติยัง 


       92. โย ปะนะ ภิกขุ สุคะตะจีวะรัปปะมาณัง จีวะรัง การาเปยยะ อะติเรกัง วา , เฉทะนะกัง ปาจิตติยัง 

       ตัต๎ริทัง สุคะตัสสะ สุคะตะจีวะรัปปะมาณัง : ทีฆะโส นะวะ วิทัตถิโย สุคะตะวิทัตถิยา ติริยัง ฉะ วิทัตถิโย , อิทัง สุคะตัสสะ สุคะตะจีวะรัปปะมาณัง 

       ระตะนะวัคโค นะวะโม 


       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต เท๎วนะวุติ ปาจิตติยา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ทุติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ตะติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       ปาจิตติยา นิฏฐิตา 


       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต จัตตาโร ปาฏิเทสะนียา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา อันตะระฆะรัง ปะวิฏฐายะ หัตถะโต ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา สะหัตถา ปะฏิคคะเหต๎วา ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา , ปะฏิเทเสตัพพัง เตนะ ภิกขุนา “คารัย๎หัง อาวุโส ธัมมัง อาปัชชิง อะสัปปายัง ปาฏิเทสะนียัง, ตัง ปะฏิเทเสมีติ 


       2. ภิกขู ปะเนวะ กุเลสุ นิมันติตา ภุญชันติ , ตัต๎ระ เจ ภิกขุนี โวสาสะมานะรูปา ฐิตา โหติ “อิธะ สูปัง เทถะ , อิธะ โอทะนัง เทถาติ , เตหิ ภิกขูหิ สา ภิกขุนี อะปะสาเทตัพพา “อะปะสักกะ ตาวะ ภะคินิ , ยาวะ ภิกขู ภุญชันตีติ : เอกัสสะปิ เจ ภิกขุโน นัปปะฏิภาเสยยะ ตัง ภิกขุนิง อะปะสาเทตุง “อะปะสักกะ ตาวะ ภะคินิ , ยาวะ ภิกขู ภุญชันตีติ , ปะฏิเทเสตัพพัง เตหิ ภิกขูหิ “คารัย๎หัง อาวุโส ธัมมัง อาปัชชิมหา อะสัปปายัง ปาฏิเทสะนียัง , ตัง ปะฏิเทเสมาติ 


       3. ยานิ โข ปะนะ ตานิ เสกขะสัมมะตานิ กุลานิ , โย ปะนะ ภิกขุ ตะถารูเปสุ เสกขะสัมมะเตสุ กุเลสุ ปุพเพ อะนิมันติโต อะคิลาโน ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา สะหัตถา ปะฏิคคะเหต๎วา ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา , ปะฏิเทเสตัพพัง เตนะ ภิกขุนา “คารัย๎หัง อาวุโส ธัมมัง อาปัชชิง อะสัปปายัง ปาฏิเทสะนียัง , ตัง ปะฏิเทเสมีติ 


       4. ยานิ โข ปะนะ ตานิ อารัญญะกานิ เสนาสะนานิ สาสังกะสัมมะตานิ สัปปะฏิภะยานิ , โย ปะนะ ภิกขุ ตะถารูเปสุ เสนาสะเนสุ วิหะรันโต ปุพเพ อัปปะฏิสังวิทิตัง ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา อัชฌาราเม สะหัตถา ปะฏิคคะเหต๎วา อะคิลาโน ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา , ปะฏิเทเสตัพพัง เตนะ ภิกขุนา “คารัย๎หัง อาวุโส ธัมมัง อาปัชชิง อะสัปปายัง ปาฏิเทสะนียัง , ตัง ปะฏิเทเสมีติ 

       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต จัตตาโร ปาฏิเทสะนียา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       ปาฏิเทสะนียา นิฏฐิตา 


       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต ( ปัญจะสัตตะติ ) เสขิยา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. “ปะริมัณฑะลัง นิวาเสสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       2. “ปะริมัณฑะลัง ปารุปิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       3. “สุปะฏิจฉันโน อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       4. “สุปะฏิจฉันโน อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       5. “สุสังวุโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       6. “สุสังวุโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       7. “โอกขิตตะจักขุ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       8. “โอกขิตตะจักขุ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       9. “นะ อุกขิตตะกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       10. “นะ อุกขิตตะกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       11. “นะ อุชชัคฆิกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา


       12. “นะ อุชชัคฆิกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       13. “อัปปะสัทโท อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       14. “อัปปะสัทโท อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       15. “นะ กายัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       16. “นะ กายัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       17. “นะ พาหุปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       18. “นะ พาหุปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       19. “นะ สีสัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       20. “นะ สีสัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       21. “นะ ขัมภะกะโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       22. “นะ ขัมภะกะโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       23. “นะ โอคุณฐิโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       24. “นะ โอคุณฐิโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       25. “นะ อุกกุฏิกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       26. “นะ ปัลลัตถิกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา 

       ฉัพพีสะติ สารุปปา 


       1. “สักกัจจัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       2. “ปัตตะสัญญี ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       3. “สะมะสูปะกัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       4. “สะมะติตติกัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       5. “สักกัจจัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       6. “ปัตตะสัญญี ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       7. “สะปะทานัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       8. “สะมะสูปะกัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       9. “นะ ถูปะโต โอมัททิต๎วา ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       10. “นะ สูปัง วา พ๎ยัญชะนัง วา โอทะเนนะ ปะฏิจฉาเทสสามิ ภิยโยกัม๎ยะตัง อุปาทายาติ สิกขา กะระณียา 


       11. “นะ สูปัง วา โอทะนัง วา อะคิลาโน อัตตะโน อัตถายะ วิญญาเปต๎วา ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       12. “นะ อุชฌานะสัญญี ปะเรสัง ปัตตัง โอโลเกสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       13. “นาติมะหันตัง กะวะฬัง กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       14. “ปะริมัณฑะลัง อาโลปัง กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       15. “นะ อะนาหะเฏ กะวะเฬ มุขะท๎วารัง วิวะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       16. “นะ ภุญชะมาโน สัพพัง หัตถัง มุเข ปักขิปิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       17. “นะ สะกะวะเฬนะ มุเขนะ พ๎ยาหะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       18. “นะ ปิณฑุกเขปะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       19. “นะ กะวะฬาวัจเฉทะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       20. “นะ อะวะคัณฑะการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       21. “นะ หัตถะนิทธูนะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       22. ”นะ สิตถาวะการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       23. “นะ ชิวหานิจฉาระกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       24. “นะ จะปุจะปุการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       25. “นะ สุรุสุรุการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       26. “นะ หัตถะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       27. ”นะ ปัตตะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       28. “นะ โอฏฐะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       29. “นะ สามิเสนะ หัตเถนะ ปานียะถาละกัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       30. “นะ สะสิตถะกัง ปัตตะโธวะนัง อันตะระฆะเร ฉัฑเฑสสามีติ สิกขา กะระณียา 

       สะมะติงสะ โภชะนะปะฏิสังยุตตา 


       1. “นะ ฉัตตะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       2. “นะ ทัณฑะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       3. “นะ สัตถะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       4. “นะ อาวุธะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       5. “นะ ปาทุการูฬ๎หัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       6. “นะ อุปาหะนารูฬ๎หัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       7. “นะ ยานะคะตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       8. “นะ สะยะนะคะตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       9. “นะ ปัลลัตถิกายะ นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       10. “นะ เวฏฐิตะสีสัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       11. “นะ โอคุณฐิตะสีสัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       12. “นะ ฉะมายัง นิสีทิต๎วา อาสะเน นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       13. “นะ นีเจ อาสะเน นิสีทิต๎วา อุจเจ อาสะเน นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       14. “นะ ฐิโต นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       15. “นะ ปัจฉะโต คัจฉันโต ปุระโต คัจฉันตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       16. “นะ อุปปะเถนะ คัจฉันโต ปะเถนะ คัจฉันตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา 

       โสฬะสะ ธัมมะเทสะนาปะฏิสังยุตตา 


       1. “นะ ฐิโต อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       2. “นะ หะริเต อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา เขฬัง วา กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา 


       3. “นะ อุทะเก อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา เขฬัง วา กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา

       ตะโย ปะกิณณะกา 


       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต ( ปัญจะสัตตะติ ) เสขิยา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ . เสขิยา นิฏฐิตา 


       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต สัตตาธิกะระณะสะมะถา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       อุปปันนุปปันนานัง อะธิกะระณานัง สะมะถายะ วูปะสะมายะ สัมมุขาวินะโย ทาตัพโพ , สะติวินะโย ทาตัพโพ , อะมูฬ๎หะวินะโย ทาตัพโพ , ปะฏิญญาตะกะระณัง , เยภุยยะสิกา , ตัสสะ ปาปิยะสิกา , ติณะวัตถาระโกติ 


       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต สัตตาธิกะระณะสะมะถา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       สัตตาธิกะระณะสะมะถา นิฏฐิตา 


       อุททิฏฐัง โข อายัส๎มันโต นิทานัง 

       อุททิฏฐา จัตตาโร ปาราชิกา ธัมมา 

       อุททิฏฐา เตระสะ สังฆาทิเสสา ธัมมา 

       อุททิฏฐา เท๎ว อะนิยะตา ธัมมา 

       อุททิฏฐา ติงสะ นิสสัคคิยา ปาจิตติยา ธัมมา 

       อุททิฏฐา เท๎วนะวุติ ปาจิตติยา ธัมมา 

       อุททิฏฐา จัตตาโร ปาฏิเทสะนียา ธัมมา 

       อุททิฏฐา ( ปัญจะสัตตะติ ) เสขิยา ธัมมา 

       อุททิฏฐา สัตตาธิกะระณะสะมะถา ธัมมา 

       เอตตะกันตัสสะ ภะคะวะโต สุตตาคะตัง สุตตะปะริยาปันนัง อัน๎วัฑฒะมาสัง อุทเทสัง อาคัจฉะติ 

       ตัตถะ สัพเพเหวะ สะมัคเคหิ สัมโมทะมาเนหิ อะวิวะทะมาเนหิ สิกขิตัพพันติ 

       ภิกขุปาฏิโมกขัง นิฏฐิตัง  



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 4 ( หน้าสุดท้าย )   



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,083 , 1,084 , 1,085 , 1,086 , 1,087 , 1,088 , 1,089 , 1,090 , 1,091  



ก่อนหน้านี้ 


1  <  2  <  3  <  4  

Monday, October 17, 2022

ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 3

 

- หน้า 3 -



       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต เท๎วนะวุติ ปาจิตติยา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. สัมปะชานะมุสาวาเท ปาจิตติยัง 


       2. โอมะสะวาเท ปาจิตติยัง 


       3. ภิกขุเปสุญเญ ปาจิตติยัง 


       4. โย ปะนะ ภิกขุ อะนุปะสัมปันนัง ปะทะโส ธัมมัง วาเจยยะ , ปาจิตติยัง 


       5. โย ปะนะ ภิกขุ อะนุปะสัมปันเนนะ อุตตะริท๎วิรัตตะติรัตตัง สะหะเสยยัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       6. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคาเมนะ สะหะเสยยัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       7. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคามัสสะ อุตตะริฉัปปัญจะวาจาหิ ธัมมัง เทเสยยะ อัญญัต๎ระ วิญญุนา ปุริสะวิคคะเหนะ , ปาจิตติยัง 


       8. โย ปะนะ ภิกขุ อะนุปะสัมปันนัสสะ อุตตะริมะนุสสะธัมมัง อาโรเจยยะ , ภูตัส๎มิง ปาจิตติยัง 


       9. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ ทุฏฐุลลัง อาปัตติง อะนุปะสัมปันนัสสะ อาโรเจยยะ , อัญญัต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา , ปาจิตติยัง 


       10. โย ปะนะ ภิกขุ ปะฐะวิง ขะเณยยะ วา ขะณาเปยยะ วา , ปาจิตติยัง 

       มุสาวาทะวัคโค ปะฐะโม 


       11. ภูตะคามะปาตัพ๎ยะตายะ ปาจิตติยัง 


       12. อัญญะวาทะเก วิเหสะเก ปาจิตติยัง 


       13. อุชฌาปะนะเก ขิยยะนะเก ปาจิตติยัง 


       14. โย ปะนะ ภิกขุ สังฆิกัง มัญจัง วา ปีฐัง วา ภิสิง วา โกจฉัง วา อัชโฌกาเส สันถะริต๎วา วา สันถะราเปต๎วา วา , ตัง ปักกะมันโต เนวะ อุทธะเรยยะ นะ อุทธะราเปยยะ อะนาปุจฉัง วา คัจเฉยยะ , ปาจิตติยัง 


       15. โย ปะนะ ภิกขุ สังฆิเก วิหาเร เสยยัง สันถะริต๎วา วา สันถะราเปต๎วา วา , ตัง ปักกะมันโต เนวะ อุทธะเรยยะ นะ อุทธะราเปยยะ อะนาปุจฉัง วา คัจเฉยยะ , ปาจิตติยัง 


       16. โย ปะนะ ภิกขุ สังฆิเก วิหาเร ชานัง ปุพพูปะคะตัง ภิกขุง อะนูปะขัชชะ เสยยัง กัปเปยยะ “ยัสสะ สัมพาโธ ภะวิสสะติ , โสปักกะมิสสะตีติ ; เอตะเทวะ ปัจจะยัง กะริต๎วา อะนัญญัง , ปาจิตติยัง 


       17. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง กุปิโต อะนัตตะมะโน สังฆิกา วิหารา นิกกัฑเฒยยะ วา นิกกัฑฒาเปยยะ วา , ปาจิตติยัง 


       18. โย ปะนะ ภิกขุ สังฆิเก วิหาเร อุปะริเวหาสะกุฏิยา อาหัจจะปาทะกัง มัญจัง วา ปีฐัง วา อะภินิสีเทยยะ วา อะภินิปัชเชยยะ วา , ปาจิตติยัง 


       19. มะหัลละกัมปะนะ ภิกขุนา วิหารัง การะยะมาเนนะ ยาวะ ท๎วาระโกสา อัคคะลัฏฐะปะนายะ อาโลกะสันธิปะริกัมมายะ ท๎วิตติจฉะทะนัสสะ ปะริยายัง อัปปะหะริเต ฐิเตนะ อะธิฏฐาตัพพัง , ตะโต เจ อุตตะริง อัปปะหะริเตปิ ฐิโต อะธิฏฐะเหยยะ , ปาจิตติยัง 


       20. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง สัปปาณะกัง อุทะกัง ติณัง วา มัตติกัง วา สิญเจยยะ วา สิญจาเปยยะ วา , ปาจิตติยัง 

       ภูตะคามะวัคโค ทุติโย 


       21. โย ปะนะ ภิกขุ อะสัมมะโต ภิกขุนิโย โอวะเทยยะ , ปาจิตติยัง 


       22. สัมมะโตปิ เจ ภิกขุ อัตถังคะเต สุริเย ภิกขุนิโย โอวะเทยยะ , ปาจิตติยัง 


       23. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุนูปัสสะยัง อุปะสังกะมิต๎วา ภิกขุนิโย โอวะเทยยะ , อัญญัต๎ระ สะมะยา , ปาจิตติยัง. ตัตถายัง สะมะโย ; คิลานา โหติ ภิกขุนี , อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       24. โย ปะนะ ภิกขุ เอวัง วะเทยยะ “อามิสะเหตุ ภิกขู ภิกขุนิโย โอวะทันตีติ , ปาจิตติยัง 


       25. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา จีวะรัง ทะเทยยะ อัญญัต๎ระ ปาริวัฏฏะกา , ปาจิตติยัง 


       26. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา จีวะรัง สิพเพยยะ วา สิพพาเปยยะ วา , ปาจิตติยัง 


       27. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุนิยา สัทธิง สังวิธายะ เอกัทธานะมัคคัง ปะฏิปัชเชยยะ อันตะมะโส คามันตะรัมปิ อัญญัต๎ระ สะมะยา , ปาจิตติยัง 

       ตัตถายัง สะมะโย : สัตถะคะมะนีโย โหติ มัคโค สาสังกะสัมมะโต สัปปะฏิภะโย , อะยัง ตัตถะ สะมะโย  


       28. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุนิยา สัทธิง สังวิธายะ เอกัง นาวัง อะภิรูเหยยะ อุทธะคามินิง วา อะโธคามินิง วา อัญญัต๎ระ ติริยันตะระณายะ , ปาจิตติยัง 


       29. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง ภิกขุนีปะริปาจิตัง ปิณฑะปาตัง ภุญเชย ยะอัญญัต๎ระ ปุพเพ คิหิสะมารัมภา , ปาจิตติยัง 


       30. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุนิยา สัทธิง เอโก เอกายะ ระโห นิสัชชัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 

       โอวาทะวัคโค ตะติโย 


       31. อะคิลาเนนะ ภิกขุนา เอโก อาวะสะถะปิณโฑ ภุญชิตัพโพ ; ตะโต เจ อุตตะริง ภุญเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       32. คะณะโภชะเน อัญญัต๎ระ สะมะยา ปาจิตติยัง

       ตัตถายัง สะมะโย : คิลานะสะมะโย จีวะระทานะสะมะโย จีวะระการะสะมะโย อัทธานะคะมะนะสะมะโย นาวาภิรูหะนะสะมะโย มะหาสะมะโย สะมะณะภัตตะสะมะโย , อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       33. ปะรัมปะระโภชะเน อัญญัต๎ระ สะมะยา ปาจิตติยัง

       ตัตถายัง สะมะโย คิลานะสะมะโย จีวะระทานะสะมะโย จีวะระการะสะมะโย ; อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       34. ภิกขุง ปะเนวะ กุลัง อุปะคะตัง ปูเวหิ วา มันเถหิ วา อะภิหัฏฐุมปะวาเรยยะ , อากังขะมาเนนะ ภิกขุนา ท๎วิตติปัตตะปูรา ปะฏิคคะเหตัพพา ; ตะโต เจ อุตตะริง ปะฏิคคัณเหยยะ , ปาจิตติยัง 

       ท๎วิตติปัตตะปูเร ปะฏิคคะเหต๎วา ตะโต นีหะริต๎วา ภิกขูหิ สัทธิง สังวิภะชิตัพพัง , อะยัง ตัตถะ สามีจิ 


       35. โย ปะนะ ภิกขุ ภุตตาวี ปะวาริโต อะนะติริตตัง ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา , ปาจิตติยัง 


       36. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง ภุตตาวิง ปะวาริตัง อะนะติริตเตนะ ขาทะนีเยนะ วา โภชะนีเยนะ วา อะภิหัฏฐุมปะวาเรยยะ “หันทะ ภิกขุ ขาทะ วา ภุญชะ วาติ ชานัง อาสาทะนาเปกโข , ภุตตัส๎มิง ปาจิตติยัง 


       37. โย ปะนะ ภิกขุ วิกาเล ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา , ปาจิตติยัง 


       38. โย ปะนะ ภิกขุ สันนิธิการะกัง ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา ขาเทยยะ วา ภุญเชยยะ วา, ปาจิตติยัง 


       39. ยานิ โข ปะนะ ตานิ ปะณีตะโภชะนานิ , เสยยะถีทัง ; สัปปิ นะวะนีตัง เตลัง มะธุ ผาณิตัง มัจโฉ มังสัง ขีรัง ทะธิ , โย ปะนะ ภิกขุ เอวะรูปานิ ปะณีตะโภชะนานิ อะคิลาโน อัตตะโน อัตถายะ วิญญาเปต๎วา ภุญเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       40. โย ปะนะ ภิกขุ อะทินนัง มุขะท๎วารัง อาหารัง อาหะเรยยะ อัญญัต๎ระ อุทะกะทันตะโปณา , ปาจิตติยัง 

       โภชะนะวัคโค จะตุตโถ 


       41. โย ปะนะ ภิกขุ อะเจละกัสสะ วา ปะริพพาชะกัสสะ วา ปะริพาชิกายะ วา สะหัตถา ขาทะนียัง วา โภชะนียัง วา ทะเทยยะ , ปาจิตติยัง 


       42. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง เอวัง วะเทยยะ “เอหาวุโส คามัง วา นิคะมัง วา ปิณฑายะ ปะวิสิสสามาติ. ตัสสะ ทาเปต๎วา วา อะทาเปต๎วา วา อุยโยเชยยะ “คัจฉาวุโส , นะ เม ตะยา สัทธิง กะถา วา นิสัชชา วา ผาสุ โหติ , เอกะกัสสะ เม กะถา วา นิสัชชา วา ผาสุ โหตีติ , เอตะเทวะ ปัจจะยัง กะริต๎วา อะนัญญัง , ปาจิตติยัง 


       43. โย ปะนะ ภิกขุ สะโภชะเน กุเล อะนูปะขัชชะ นิสัชชัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       44. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคาเมนะ สัทธิง ระโห ปะฏิจฉันเน อาสะเน นิสัชชัง กัปเปยยะ, ปาจิตติยัง 


       45. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคาเมนะ สัทธิง เอโก เอกายะ ระโห นิสัชชัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       46. โย ปะนะ ภิกขุ นิมันติโต สะภัตโต สะมาโน , สันตัง ภิกขุง อะนาปุจฉา ปุเรภัตตัง วา ปัจฉาภัตตัง วา กุเลสุ จาริตตัง อาปัชเชยยะ อัญญัต๎ระ สะมะยา , ปาจิตติยัง

       ตัตถายัง สะมะโย : จีวะระทานะสะมะโย จีวะระการะสะมะโย , อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       47. อะคิลาเนนะ ภิกขุนา จาตุมาสะปัจจะยะปะวะระณา สาทิตัพพา อัญญัต๎ระ ปุนะปะวาระณายะ , อัญญัต๎ระ นิจจะปะวาระณายะ , ตะโต เจ อุตตะริง สาทิเยยยะ , ปาจิตติยัง 


       48. โย ปะนะ ภิกขุ อุยยุตตัง เสนัง ทัสสะนายะ คัจเฉยยะ อัญญัต๎ระ ตะถารูปะปัจจะยา , ปาจิตติยัง 


       49. สิยา จะ ตัสสะ ภิกขุโน โกจิเทวะ ปัจจะโย เสนัง คะมะนายะ , ท๎วิรัตตะติรัตตัง เตนะ ภิกขุนา เสนายะ วะสิตัพพัง 

       ตะโต เจ อุตตะริง วะเสยยะ , ปาจิตติยัง 


       50. ท๎วิรัตตะติรัตตัญเจ ภิกขุ เสนายะ วะสะมาโน อุยโยธิกัง วา พะลัคคัง วา เสนาพ๎ยูหัง วา อะนีกะทัสสะนัง วา คัจเฉยยะ , ปาจิตติยัง 

       อะเจละกะวัคโค ปัญจะโม 


       51. สุราเมระยะปาเน ปาจิตติยัง 


       52. อังคุลิปะโตทะเก ปาจิตติยัง 


       53. อุทะเก หัสสะธัมเม ปาจิตติยัง 


       54. อะนาทะริเย ปาจิตติยัง 


       55. โย ปะเน ภิกขุ ภิกขุง ภิงสาเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       56. โย ปะนะ ภิกขุ อะคิลาโน วิสีวะนาเปกโข โชติง สะมาทะเหย ยะ วา สะมาทะหาเปยยะ วา อัญญัต๎ระ ตะถารูปะปัจจะยา , ปาจิตติยัง 


       57. โย ปะนะ ภิกขุ โอเรนัฑฒะมาสัง นะหาเยยยะ อัญญัต๎ระ สะมะยา , ปาจิตติยัง 

       ตัตถายัง สะมะโย: ทิยัฑโฒ มาโส เสโส คิมหานันติ วัสสานัสสะ ปะฐะโม มาโส อิจเจเต อัฑฒะเตยยะมาสา อุณหะสะมะโย ปะริฬาหะสะมะโย คิลานะสะมะโย กัมมะสะมะโย อัทธานะคะมะนะสะมะโย วาตะวุฏฐิสะมะโย 

       อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       58. นะวัมปะนะ ภิกขุนา จีวะระลาเภนะ ติณณัง ทุพพัณณะกะระณานัง อัญญะตะรัง ทุพพัณณะกะระณัง อาทาตัพพัง นีลัง วา กัททะมัง วา กาฬะสามัง วา , อะนาทา เจ ภิกขุ ติณณัง ทุพพัณณะกะระณานัง อัญญะตะรัง ทุพพัณณะกะระณัง นะวัง จีวะรัง ปริภุญเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       59. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ วา ภิกขุนิยา วา สิกขะมานายะ วา สามะเณรัสสะ วา สามะเณริยา วา สามัง จีวะรัง วิกัปเปต๎วา อะปัจจุทธาระกัง ปะริภุญเชยยะ, ปาจิตติยัง 


       60. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ ปัตตัง วา จีวะรัง วา นิสีทะนัง วา สูจิฆะรัง วา กายะพันธะนัง วา อะปะนิเธยยะ วา อะปะนิธาเปยยะ วา อันตะมะโส หัสสาเปกโขปิ , ปาจิตติยัง 

       สุราปานะวัคโค ฉัฏโฐ 


       61. โย ปะนะ ภิกขุ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปยยะ , ปาจิตติยัง  


       62. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง สัปปาณะกัง อุทะกัง ปะริภุญเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       63. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง ยะถาธัมมัง นีหะตาธิกะระณัง ปุนะกัมมายะ อุกโกเฏยยะ , ปาจิตติยัง 


       64. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ ชานัง ทุฏฐุลลัง อาปัตติง ปะฏิจฉาเทยยะ , ปาจิตติยัง 


       65. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง อูนะวีสะติวัสสัง ปุคคะลัง อุปะสัมปาเทยยะ , โส จะ ปุคคะโล อะนุปะสัมปันโน , เต จะ ภิกขู คารัย๎หา , อิทัง ตัส๎มิง ปาจิตติยัง 


       66. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง เถยยะสัตเถนะ สัทธิง สังวิธายะ เอกัทธานะมัคคัง ปะฏิปัชเชยยะ อันตะมะโส คามันตะรัมปิ, ปาจิตติยัง 


       67. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคาเมนะ สัทธิง สังวิธายะ เอกัทธานะมัคคัง ปะฏิปัชเชยยะ อันตะมะโส คามันตะรัมปิ , ปาจิตติยัง 


       68. โย ปะนะ ภิกขุ เอวัง วะเทยยะ “ตะถาหัง ภะคะวะตา ธัมมัง เทสิตัง อาชานามิ ; ยะถา เยเม อันตะรายิกา ธัมมา วุตตา ภะคะวะตา , เต ปะฏิเสวะโต นาลัง อันตะรายายาติ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “มา อายัส๎มา เอวัง อะวะจะ , มา ภะคะวันตัง อัพภาจิกขิ ; นะ หิ สาธุ ภะคะวะโต อัพภักขานัง , นะ หิ ภะคะวา เอวัง วะเทยยะ ; อะเนกะปะริยาเยนะ อาวุโส อันตะรายิกา ธัมมา วุตตา ภะคะวะตา อะลัญจะ ปะนะ เต ปะฏิเสวะโต อันตะรายายาติ เอวัญจะ โส ภิกขุ ภิกขูหิ วุจจะมาโน ตะเถวะ ปัคคัณเหยยะ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ ยาวะตะติยัง สะมะนุภาสิตัพโพ ตัสสะ ปะฏินิสสัคคายะ ; ยาวะตะติยัญเจ สะมะนุภาสิยะมาโน ตัง ปะฏินิสสัชเชยยะ , อิจเจตัง กุสะลัง , โน เจ ปะฎินิสสัชเชยยะ , ปาจิตติยัง 


       69. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง ตะถาวาทินา ภิกขุนา อะกะฏานุธัมเมนะ ตัง ทิฏฐิง อัปปะฏินิสสัฏเฐนะ สัทธิง สัมภุญเชยยะ วา สังวะเสยยะ วา สะหะ วา เสยยัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 


       70. สะมะณุทเทโสปิ เจ เอวัง วะเทยยะ “ตะถาหัง ภะคะวะตา ธัมมัง เทสิตัง อาชานามิ ; ยะถา เยเม อันตะรายิกา ธัมมา วุตตา ภะคะวะตา , เต ปะฏิเสวะโต นาลัง อันตะรายายาติ , โส สะมะณุทเทโส ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “มา อาวุโส สะมะณุทเทสะ เอวัง อะวะจะ , มา ภะคะวันตัง อัพภาจิกขิ , นะ หิ สาธุ ภะคะวะโต อัพภักขานัง , นะ หิ ภะคะวา เอวัง วะเทยยะ 

       อะเนกะปะริยาเยนะ อาวุโส สะมะณุทเทสะ อันตะรายิกา ธัมมา วุตตา ภะคะวะตา , อะลัญจะ ปะนะ เต ปะฏิเสวะโต อันตะรายายาติ ; เอวัญจะ โส สะมะณุทเทโส ภิกขูหิ วุจจะมาโน ตะเถวะ ปัคคัณเหยยะ , โส สะมะณุทเทโส ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “อัชชะตัคเค เต อาวุโส
สะมะณุทเทสะ นะ เจวะ โส ภะคะวา สัตถา อะปะทิสิตัพโพ ; ยัมปิ จัญเญ สะมะณุทเทสา ละภันติ ภิกขูหิ สัทธิง ท๎วิรัตตะติรัตตัง สะหะเสยยัง , สาปิ เต นัตถิ ; จะระ ปิเร วินัสสาติ

       โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง ตะถานาสิตัง สะมะณุทเทสัง อุปะลาเปยยะ วา อุปัฏฐาเปยยะ วา สัมภุญเชยยะ วา สะหะ วา เสยยัง กัปเปยยะ , ปาจิตติยัง 

       สัปปาณะวัคโค สัตตะโม 



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 3  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,076 , 1,077 , 1,078 , 1,079 , 1,080 , 1,081 , 1,082  



Sunday, October 16, 2022

ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 2

 

- หน้า 2 -




       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต เท๎ว อะนิยะตา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. โย ปะนะ ภิกขุ มาตุคาเมนะ สัทธิง เอโก เอกายะ ระโห ปะฏิจฉันเน อาสะเน อะลังกัมมะนิเย นิสัชชัง กัปเปยยะ ; ตะเมนัง สัทเธยยะวะจะสา อุปาสิกา ทิส๎วา ติณณัง ธัมมานัง อัญญะตะเรนะ วะเทยยะ ปาราชิเกนะ วา สังฆาทิเสเสนะ วา ปาจิตติเยนะ วา , นิสัชชัง ภิกขุ ปะฏิชานะมาโน ติณณัง ธัมมานัง อัญญะตะเรนะ กาเรตัพโพ ปาราชิเกนะ วา สังฆาทิเสเสนะ วา ปาจิตติเยนะ วา ; เยนะ วา สา สัทเธยยะวะจะสา อุปาสิกา วะเทยยะ , เตนะ โส ภิกขุ กาเรตัพโพ ; อะยัง ธัมโม อะนิยะโต 


       2. นะ เหวะ โข ปะนะ ปะฏิจฉันนัง อาสะนัง โหติ นาลังกัมมะนิยัง , อะลัญจะ โข โหติ มาตุคามัง ทุฏฐุลลาหิ วาจาหิ โอภาสิตุง ; โย ปะนะ ภิกขุ ตะถารูเป อาสะเน มาตุคาเมนะ สัทธิง เอโก เอกายะ ระโห นิสัชชัง กัปเปยยะ ; ตะเมนัง สัทเธยยะวะจะสา อุปาสิกา ทิส๎วา ท๎วินนัง ธัมมานัง อัญญะตะเรนะ วะเทยยะ สังฆาทิเสเสนะ วา ปาจิตติเยนะ วา , นิสัชชัง ภิกขุ ปะฏิชานะมาโน ท๎วินนัง ธัมมานัง อัญญะตะเรนะ กาเรตัพโพ สังฆาทิเสเสนะ วา ปาจิตติเยนะ วา , เยนะ วา สา สัทเธยยะวะจะสา อุปาสิกา วะเทยยะ , เตนะ โส ภิกขุ กาเรตัพโพ ; อะยัมปิ ธัมโม อะนิยะโต 

       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต เท๎ว อะนิยะตา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       อะนิยะตุทเทโส นิฏฐิโต 



       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต ติงสะ นิสสัคคิยา ปาจิตติยา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ

       1. นิฏฐิตะจีวะรัส๎มิง ภิกขุนา อุพภะตัส๎มิง กะฐิเน , ทะสาหะปะระมัง อะติเรกะจีวะรัง ธาเรตัพพัง , ตัง อะติกกามะยะโต, นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       2. นิฏฐิตะจีวะรัส๎มิง ภิกขุนา อุพภะตัส๎มิง กะฐิเน , เอกะรัตตัมปิ เจ ภิกขุ ติจีวะเรนะ วิปปะวะเสยยะ , อัญญัต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       3. นิฏฐิตะจีวะรัส๎มิง ภิกขุนา อุพภะตัส๎มิง กะฐิเน , ภิกขุโน ปะเนวะ อะกาละจีวะรัง อุปปัชเชยยะ , อากังขะมาเนนะ ภิกขุนา ปะฏิคคะเหตัพพัง , ปะฏิคคะเหต๎วา ขิปปะเมวะ กาเรตัพพัง ; โน จัสสะ ปาริปูริ , มาสะปะระมันเตนะ ภิกขุนา ตัง จีวะรัง นิกขิปิตัพพัง อูนัสสะ ปาริปูริยา สะติยา ปัจจาสายะ , ตะโต เจ อุตตะริง นิกขิเปยยะ สะติยาปิ ปัจจาสายะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       4. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา ปุราณะจีวะรัง โธวาเปยยะ วา ระชาเปยยะ วา อาโกฏาเปยยะ วา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง


       5. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา หัตถะโต จีวะรัง ปะฏิคคัณเหยยะ อัญญัต๎ระ ปาริวัฏฏะกา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       6. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาตะกัง คะหะปะติง วา คะหะปะตานิง วา จีวะรัง วิญญาเปยยะ อัญญัต๎ระ สะมะยา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง

       ตัตถายัง สะมะโย : อัจฉินนะจีวะโร วา โหติ ภิกขุ นัฏฐะจีวะโร วา , อะยัง ตัตถะ สะมะโย 


       7. ตัญเจ อัญญาตะโก คะหะปะติ วา คะหะปะตานี วา พะหูหิ จีวะเรหิ อะภิหัฏฐุมปะวาเรยยะ , สันตะรุตตะระปะระมันเตนะ ภิกขุนา ตะโต จีวะรัง สาทิตัพพัง , ตะโต เจ อุตตะริง สาทิเยยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       8. ภิกขุง ปะเนวะ อุททิสสะ อัญญาตะกัสสะ คะหะปะติสสะ วา คะหะปะตานิยา วา จีวะระเจตาปะนัง อุปักขะฏัง โหติ

       “อิมินา จีวะระเจตาปะเนนะ จีวะรัง เจตาเปต๎วา อิตถันนามัง ภิกขุง จีวะเรนะ อัจฉาเทสสามีติ , ตัต๎ระ เจโส ภิกขุ ปุพเพ อัปปะวาริโต อุปะสังกะมิต๎วา จีวะเร วิกัปปัง อาปัชเชยยะ “สาธุ วะตะ มัง อายัส๎มา อิมินา จีวะระเจตาปะเนนะ เอวะรูปัง วา เอวะรูปัง วา จีวะรัง เจตาเปต๎วา อัจฉาเทหีติ กัล๎ยาณะกัม๎ยะตัง อุปาทายะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       9. ภิกขุง ปะเนวะ อุทิสสะ อุภินนัง อัญญาตะกานัง คะหะปะตีนัง วา คะหะปะตานีนัง วา ปัจเจกะจีวะระเจตาปะนา อุปักขะฏา โหนติ “อิเมหิ มะยัง ปัจเจกะจีวะระเจตาปะเนหิ ปัจเจกะจีวะรานิ เจตาเปต๎วา อิตถันนามัง ภิกขุง จีวะเรหิ อัจฉาเทสสามาติ , ตัต๎ระ เจ โส ภิกขุ ปุพเพ อัปปะวาริโต อุปะสังกะมิต๎วา จีวะเร วิกัปปัง อาปัชเชยยะ “สาธุ วะตะ มัง อายัส๎มันโต อิเมหิ ปัจเจกะจีวะระเจตาปะเนหิ เอวะรูปัง วา เอวะรูปัง วา จีวะรัง เจตาเปต๎วา อัจฉาเทถะ อุโภวะ สันตา เอเกนาติ กัล๎ยาณะกัม๎ยะตัง อุปาทายะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       10. ภิกขุง ปะเนวะ อุททิสสะ ราชา วา ราชะโภคโค วา พราหมะโณ วา คะหะปะติโก วา ทูเตนะ จีวะระเจตาปะนัง ปะหิเณยยะ “อิมินา จีวะระเจตาปะเนนะ จีวะรัง เจตาเปต๎วา อิตถันนามัง ภิกขุง จีวะเรนะ อัจฉาเทหีติ ; โส เจ ทูโต ตัง ภิกขุง อุปะสังกะมิต๎วา เอวัง วะเทยยะ “อิทัง โข ภันเต อายัส๎มันตัง อุททิสสะ จีวะระเจตาปะนัง อาภะตัง , ปะฏิคคัณหาตุ อายัส๎มา จีวะระเจตาปะนันติ , เตนะ ภิกขุนา โส ทูโต เอวะมัสสะ วะจะนีโย “นะ โข มะยัง อาวุโส จีวะระเจตาปะนัง ปะฏิคคัณหามะ, จีวะรัญจะ โข มะยัง ปะฏิคคัณหามะ กาเลนะ กัปปิยันติ ; โส เจ ทูโต ตัง ภิกขุง เอวัง วะเทยยะ “อัตถิ ปะนายัส๎มะโต โกจิ เวยยาวัจจะกะโรติ , จีวะรัตถิเกนะ ภิกขะเว ภิกขุนา เวยยาวัจจะกะโร นิททิสิตัพโพ อารามิโก วา อุปาสะโก วา “เอโส โข อาวุโส ภิกขูนัง เวยยาวัจจะกะโรติ ; โส เจ ทูโต ตัง เวยยาวัจจะกะรัง สัญญาเปต๎วา ตัง ภิกขุง อุปะสังกะมิต๎วา เอวัง วะเทยยะ “ยัง โข ภันเต อายัส๎มา เวยยาวัจจะกะรัง นิททิสิ , สัญญัตโต โส มะยา ; อุปะสังกะมะตุ อายัส๎มา กาเลนะ จีวะเรนะ ตัง อัจฉาเทสสะตีติ , จีวะรัตถิเกนะ ภิกขะเว ภิกขุนา เวยยาวัจจะกะโร อุปะสังกะมิต๎วา ท๎วิตติกขัตตุง โจเทตัพโพ สาเรตัพโพ “อัตโถ เม อาวุโส จีวะเรนาติ ; ท๎วิตติกขัตตุง โจทะยะมาโน สาระยะมาโน ตัง จีวะรัง อะภินิปผาเทยยะ , อิจเจตัง กุสะลัง ; โน เจ อะภินิปผาเทยยะ , จะตุกขัตตุง ปัญจักขัตตุง ฉักขัตตุปะระมัง ตุณ๎หีภูเตนะ อุททิสสะ ฐาตัพพัง ; จะตุกขัตตุง ปัญจักขัตตุง ฉักขัตตุปะระมัง ตุณ๎หีภูโต อุททิสสะ ติฏฐะมาโน ตัง จีวะรัง อะภินิปผาเทยยะ , อิจเจตัง กุสะลัง ; โน เจ อะภินิปผาเทยยะ , ตะโต เจ อุตตะริง วายะมะมาโน ตัง จีวะรัง อะภินิปผาเทยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง ; โน เจ อะภินิปผาเทยยะ , ยะตัสสะ จีวะระเจตาปะนัง อาภะตัง, ตัตถะ สามัง วา คันตัพพัง , ทูโต วา ปาเหตัพโพ “ยัง โข ตุมเห อายัส๎มันโต ภิกขุง อุททิสสะ จีวะระเจตาปะนัง ปะหิณิตถะ , นะ ตันตัสสะ ภิกขุโน กิญจิ อัตถัง อะนุโภติ , ยุญชันตายัส๎มันโต สะกัง , มาโว สะกัง วินัสสีติ : อะยัง ตัตถะ สามีจิ 

       จีวะระวัคโค ปะฐะโม 


       11. โย ปะนะ ภิกขุ โกสิยะมิสสะกัง สันถะตัง การาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       12. โย ปะนะ ภิกขุ สุทธะกาฬะกานัง เอฬะกะโลมานัง สันถะตัง การาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       13. นะวัมปะนะ ภิกขุนา สันถะตัง การะยะมาเนนะ เท๎ว ภาคา สุทธะกาฬะกานัง เอฬะกะโลมานัง อาทาตัพพา , ตะติยัง โอทาตานัง , จะตุตถัง โคจะริยานัง ; อะนาทา เจ ภิกขุ เท๎ว ภาเค สุทธะกาฬะกานัง เอฬะกะโลมานัง ตะติยัง โอทาตานัง จะตุตถัง โคจะริยานัง นะวัง สันถะตัง การาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       14. นะวัมปะนะ ภิกขุนา สันถะตัง การาเปต๎วา ฉัพพัสสานิ ธาเรตัพพัง 

       โอเรนะ เจ ฉันนัง วัสสานัง ตัง สันถะตัง วิสสัชเชต๎วา วา อะวิสสัชเชต๎วา วา อัญญัง นะวัง สันถะตัง การาเปยยะ อัญญต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       15. นิสีทะนะสันถะตัมปะนะ ภิกขุนา การะยะมาเนนะ ปุราณะสันถะตัสสะ สามันตา สุคะตะวิทัตถิ อาทาตัพพา ทุพพัณณะกะระณายะ, อะนาทา เจ ภิกขุ ปุราณะสันถะตัสสะ สามันตา สุคะตะวิทัตถิง นะวัง นิสีทะนะสันถะตัง การาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       16. ภิกขุโน ปะเนวะ อัทธานะมัคคะปะฏิปันนัสสะ เอฬะกะโลมานิ อุปปัชเชยยุง , อากังขะมาเนนะ ภิกขุนา ปะฏิคคะเหตัพพานิ , ปะฏิคคะเหต๎วา ติโยชะนะปะระมัง สะหัตถา หาเรตัพพานิ , อะสันเต หาระเก , ตะโต เจ อุตตะริง หะเรยยะ อะสันเตปิ หาระเก , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       17. โย ปะนะ ภิกขุ อัญญาติกายะ ภิกขุนิยา เอฬะกะโลมานิ โธวาเปยยะ วา ระชาเปยยะ วา วิชะฏาเปยยะ วา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       18. โย ปะนะ ภิกขุ ชาตะรูปะระชะตัง อุคคัณเหยยะ วา อุคคัณหาเปยยะ วา อุปะนิกขิตตัง วา สาทิเยยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       19. โย ปะนะ ภิกขุ นานัปปะการะกัง รูปิยะสังโวหารัง สะมาปัชเชยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง


       20. โย ปะนะ ภิกขุ นานัปปะการะกัง กะยะวิกกะยัง สะมาปัชเชยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 

       โกสิยะวัคโค ทุติโย 


       21. ทะสาหะปะระมัง อะติเรกะปัตโต ธาเรตัพโพ , ตัง อะติกกามะยะโต , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       22. โย ปะนะ ภิกขุ อูนะปัญจะพันธะเนนะ ปัตเตนะ อัญญัง นะวัง ปัตตัง เจตาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง

       เตนะ ภิกขุนา โส ปัตโต ภิกขุปะริสายะ นิสสัชชิตัพโพ ; โย จะ ตัสสา ภิกขุปะริสายะ ปัตตะปะริยันโต , โส จะ ตัสสะ ภิกขุโน ปะทาตัพโพ “อะยันเต ภิกขุ ปัตโต, ยาวะ เภทะนายะ ธาเรตัพโพติ : อะยัง ตัตถะ สามีจิ 


       23. ยานิ โข ปะนะ ตานิ คิลานานัง ภิกขูนัง ปะฏิสายะนียานิ เภสัชชานิ , เสยยะถีทัง ; สัปปิ นะวะนีตัง เตลัง มะธุ ผาณิตัง , ตานิ ปะฏิคคะเหต๎วา สัตตาหะปะระมัง สันนิธิการะกัง ปะริภุญชิตัพพานิ , ตัง อะติกกามะยะโต นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       24. “มาโส เสโส คิมหานันติ ภิกขุนา วัสสิกะสาฏิกะจีวะรัง ปะริเยสิตัพพัง , “อัฑฒะมาโส เสโส คิมหานันติ กัต๎วา นิวาเสตัพพัง ; “โอเรนะ เจ มาโส เสโส คิมหานันติ วัสสิกะสาฏิกะจีวะรัง ปะริเยเสยยะ 

       “โอเรนัฑฒะมาโส เสโส คิมหานันติ กัต๎วา นิวาเสยยะ ; นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       25. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุสสะ สามัง จีวะรัง ทัต๎วา กุปิโต อะนัตตะมะโน อัจฉินเทยยะ วา อัจฉินทาเปยยะ วา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       26. โย ปะนะ ภิกขุ สามัง สุตตัง วิญญาเปต๎วา ตันตะวาเยหิ จีวะรัง วายาเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       27. ภิกขุง ปะเนวะ อุททิสสะ อัญญาตะโก คะหะปะติ วา คะหะปะตานี วา ตันตะวาเยหิ จีวะรัง วายาเปยยะ , ตัต๎ระ เจ โส ภิกขุ ปุพเพ อัปปะวาริโต ตันตะวาเย อุปะสังกะมิต๎วา จีวะเร วิกัปปัง อาปัชเชยยะ “อิทัง โข อาวุโส จีวะรัง มัง อุททิสสะ วียะติ , อายะตัญจะ กะโรถะ , วิตถะตัญจะ อัปปิตัญจะ สุวิตัญจะ สุปะวายิตัญจะ สุวิเลกขิตัญจะ สุวิตัจฉิตัญจะ กะโรถะ ; อัปเปวะนามะ มะยัมปิ อายัส๎มันตานัง กิญจิมัตตัง อะนุปะทัชเชยยามาติ , เอวัญจะ โส ภิกขุ วัต๎วา กิญจิมัตตัง อะนุปะทัชเชยยะ อันตะมะโส ปิณฑะปาตะมัตตัมปิ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       28. ทะสาหานาคะตัง กัตติกะเตมาสิปุณณะมัง , ภิกขุโน ปะเนวะ อัจเจกะจีวะรัง อุปปัชเชยยะ , อัจเจกัง มัญญะมาเนนะ ภิกขุนา ปะฏิคคะเหตัพพัง ปะฏิคคะเหต๎วา ยาวะจีวะระกาละสะมะยัง นิกขิปิตัพพัง , ตะโต เจ อุตตะริง นิขิเปยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       29. อุปะวัสสัง โข ปะนะ กัตติกะปุณณะมัง , ยานิ โข ปะนะ ตานิ อารัญญะกานิ เสนาสะนานิ สาสังกะสัมมะตานิ สัปปะฏิภะยานิ , ตะถารูเปสุ ภิกขุ เสนาสะเนสุ วิหะรันโต อากังขะมาโน ติณณัง จีวะรานัง อัญญะตะรัง จีวะรัง อันตะระฆะเร นิกขิเปยยะ , สิยา จะ ตัสสะ ภิกขุโน โกจิเทวะ ปัจจะโย เตนะ จีวะเรนะ วิปปะวาสายะ , ฉารัตตะปะระมันเตนะ ภิกขุนา เตนะ จีวะเรนะ วิปปะวะสิตัพพัง , ตะโต เจ อุตตะริง วิปปะวะเสยยะ อัญญัต๎ระ ภิกขุสัมมะติยา , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 


       30. โย ปะนะ ภิกขุ ชานัง สังฆิกัง ลาภัง ปะริณะตัง อัตตะโน ปะริณาเมยยะ , นิสสัคคิยัง ปาจิตติยัง 

       ปัตตะวัคโค ตะติโย 

       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต ติงสะ นิสสัคคิยา ปาจิตติยา ธัมมา 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       นิสสัคคิยา ปาจิตติยา ธัมมา นิฏฐิตา



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์า หน้า 2  



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,069 , 1,070 , 1,071 , 1,072 , 1,073 , 1,074 , 1,075



Saturday, October 15, 2022

ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์-หน้า-1

 



หน้าถัดไป 


1  >   2  >   3  >   4 



ภิกขุปาติโมกข์

       นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( 3 จบ ) 

       สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ. ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง , สังโฆ อุโปสะถัง กะเรยยะ, ปาติโมกขัง อุทิเสยยะ 

       กิง สังฆัสสะ ปุพพะกิจจัง , ปาริสุทธิง อายัส๎มันโต อาโรเจถะ , ปาติโมกขัง อุททิสิสสามิ. ตัง สัพเพวะ สันตา สาธุกัง สุโณมะ มะนะสิกะโรมะ. ยัสสะ สิยา อาปัตติ , โส อาวิกะเรยยะ , อะสันติยา อาปัตติยา ตุณ๎หี ภะวิตัพพัง. ตุณ๎หี ภาเวนะ โข ปะนายัส๎มันเต ปะริสุทธาติ เวทิสสามิ.

       ยะถา โข ปะนะ ปัจเจกะปุฏฐัสสะ เวยยากะระณัง โหติ , เอวะเมวัง เอวะรูปายะ ปะริสายะ ยาวะตะติยัง อะนุสสาวิตัง โหติ.

       โย ปะนะ ภิกขุ ยาวะตะติยัง อะนุสสาวิยะมาเน สะระมาโน สันติง อาปัตติง นาวิกะเรยยะ , สัมปะชานะมุสาวาทัสสะ โหติ , สัมปะชานะมุสาวาโท โข ปะนายัส๎มันโต อันตะรายิโก ธัมโม วุตโต ภะคะวะตา ; ตัส๎มา สะระมาเนนะ ภิกขุนา อาปันเนนะ วิสุทธาเปกเขนะ สันตี อาปัตติ อาวิกาตัพพา

       อาวิกะตา หิสสะ ผาสุ โหติ 

นิทานัง นิฏฐิตัง 



       ตัต๎ริเม จัตตาโร ปาราชิกา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันโน สิกขัง อัปปัจจักขายะ ทุพพัล๎ยัง อะนาวิกัต๎วา เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสเวยยะ อันตะมะโส ติรัจฉานะคะตายะปิ , ปาราชิโก โหติ อะสังวาโส 


       2. โย ปะนะ ภิกขุ คามา วา อะรัญญา วา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง อาทิเยยยะ , ยะถารูเป อะทินนาทาเน ราชาโน โจรัง คะเหต๎วา หะเนยยุง วา พันเธยยุง วา ปัพพาเชยยุง วา “โจโรสิ พาโลสิ มุฬ๎โหสิ เถโนสีติ ; ตะถารูปัง ภิกขุ อะทินนัง อาทิยะมาโน , อะยัมปิ ปาราชิโก โหติ อะสังวาโส


       3. โย ปะนะ ภิกขุ สัญจิจจะ มะนุสสะวิคคะหัง ชีวิตา โวโรเปยยะ , สัตถะหาระกัง วาสสะ ปะริเยเสยยะ , มะระณะวัณณัง วา สังวัณเณยยะ , มะระณายะ วา สะมาทะเปยยะ “อัมโภ ปุริสะ กิง ตุยหิมินา ปาปะเกนะ ทุชชีวิเตนะ , มะตันเต ชีวิตา เสยโยติ ; อิติ จิตตะมะโน จิตตะสังกัปโป อะเนกะปะริยาเยนะ มะระณะวัณณัง วา สังวัณเณยยะ, มะระณายะ วา สะมาทะเปยยะ ; อะยัมปิ ปาราชิโก โหติ อะสังวาโส 


       4. โย ปะนะ ภิกขุ อะนะภิชานัง อุตตะริมะนุสสะธัมมัง อัตตูปะนายิกัง อะละมะริยะญาณะทัสสะนัง สะมุทาจะเรยยะ “อิติ ชานามิ อิติ ปัสสามีติ ; ตะโต อะปะเรนะ สะมะเยนะ สะมะนุคคาหิยะมาโน วา อะสะมะนุคคาหิยะมาโน วา อาปันโน วิสุทธาเปกโข เอวัง วะเทยยะ “อะชานะเมวัง อาวุโส อะวะจัง ‘ชานามิ’ อะปัสสัง ‘ปัสสามิ’ ตุจฉัง มุสา วิละปินติ , อัญญัต๎ระ อะธิมานา ; อะยัมปิ ปาราชิโก โหติ อะสังวาโส 

       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต จัตตาโร ปาราชิกา ธัมมา, เยสัง ภิกขุ อัญญะตะรัง วา อัญญะตะรัง วา อาปัชชิต๎วา นะ ละภะติ ภิกขูหิ สัทธิงสังวาสัง , ยะถา ปุเร ; ตะถา ปัจฉา ; ปาราชิโก โหติ อะสังวาโส 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต ; ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       ปาราชิกุทเทโส นิฏฐิโต 



       อิเม โข ปะนายัส๎มันโต เตระสะ สังฆาทิเสสา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ 

       1. สัญเจตะนิกา สุกกะวิสัฏฐิ , อัญญัต๎ระ สุปินันตา สังฆาทิเสโส 


       2. โย ปะนะ ภิกขุ โอติณโณ วิปะริณะเตนะ จิตเตนะ มาตุคาเมนะ สัทธิง กายะสังสัคคัง สะมาปัชเชยยะ, หัตถะคาหัง วา เวณิคาหัง วา อัญญะตะรัสสะ วา อัญญะตะรัสสะ วา อังคัสสะ ปะรามะสะนัง , สังฆาทิเสโส 


       3. โย ปะนะ ภิกขุ โอติณโณ วิปะริณะเตนะ จิตเตนะ มาตุคามัง ทุฏฐุลลาหิ วาจาหิ โอภาเสยยะ , ยะถาตัง ยุวา ยุวะติง เมถุนูปะสัญหิตาหิ ; สังฆาทิเสโส 


       4. โย ปะนะ ภิกขุ โอติณโณ วิปะริณะเตนะ จิตเตนะ มาตุคามัสสะ สันติเก อัตตะกามะปาริจะริยายะ วัณณัง ภาเสยยะ “เอตะทัคคัง ภะคินิ ปาริจะริยานัง , ยา มาทิสัง สีละวันตัง กัล๎ยาณะธัมมัง พ๎รัหมะจาริง เอเตนะ ธัมเมนะ ปะริจะเรยยาติ เมถุนูปะสัญหิเตนะ , สังฆาทิเสโส 


       5. โย ปะนะ ภิกขุ สัญจะริตตัง สะมาปัชเชยยะ อิตถิยา วา ปุริสะมะติง ปุริสัสสะ วา อิตถีมะติง ชายัตตะเน วา ชารัตตะเน วา อันตะมะโส ตัง ขะณิกายะปิ , สังฆาทิเสโส 


       6. สัญญาจิกายะ ปะนะ ภิกขุนา กุฏิง การะยะมาเนนะ อัสสามิกัง อัตตุทเทสัง ปะมาณิกา กาเรตัพพา; ตัต๎ริทัง ปะมาณัง : ทีฆะโส ทะวาทะสะ วิทัตถิโย สุคะตะวิทัตถิยา , ติริยัง สัตตันตะรา. ภิกขู อะภิเนตัพพา วัตถุเทสะนายะ ; เตหิ ภิกขูหิ วัตถุง เทเสตัพพัง อะนารัมภัง สะปะริกกะมะนัง 

       สารัมเภ เจ ภิกขุ วัตถุส๎มิง อะปะริกกะมะเน สัญญาจิกายะ กุฏิง กาเรยยะ , ภิกขู วา อะนะภิเนยยะ วัตถุเทสะนายะ, ปะมาณัง วา อะติกกาเมยยะ , สังฆาทิเสโส 


       7. มะหัลละกัมปะนะ ภิกขุนา วิหารัง การะยะมาเนนะ สัสสามิกัง อัตตุทเทสัง ภิกขู อะภิเนตัพพา วัตถุเทสะนายะ ; เตหิ ภิกขูหิ วัตถุง เทเสตัพพัง อะนารัมภัง สะปะริกกะมะนัง 

       สารัมเภ เจ ภิกขุ วัตถุส๎มิง อะปะริกกะมะเน มะหัลละกัง วิหารัง กาเรยยะ , ภิกขู วา อะนะภิเนยยะ วัตถุเทสะนายะ , สังฆาทิเสโส 


       8. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง ทุฏโฐ โทโส อัปปะตีโต อะมูละเกนะ ปาราชิเกนะ ธัมเมนะ อะนุทธังเสยยะ “อัปเปวะ นามะ นัง อิมัมหา พ๎รัหมะจะริยา จาเวยยันติ. ตะโต อะปะเรนะ สะมะเยนะ สะมะนุคคาหิยะมาโน วา อะสะมะนุคาหิยะมาโน วา , อะมูละกัญเจวะ ตัง อะธิกะระณัง โหติ , ภิกขุ จะ โทสัง ปะติฏฐาติ , สังฆาทิเสโส 


       9. โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขุง ทุฏโฐ โทโส อัปปะตีโต อัญญะภาคิยัสสะ อะธิกะระณัสสะ กิญจิ เทสัง เลสะมัตตัง อุปาทายะ ปาราชิเกนะ ธัมเมนะ อะนุทธังเสยยะ “อัปเปวะ นามะ นัง อิมัมหา พ๎รัหมะจะริยา จาเวยยันติ

       ตะโต อะปะเรนะ สะมะเยนะ สะมะนุคคาหิยะมาโน วา อะสะมะนุคคาหิยะมาโน วา , อัญญะภาคิยัญเจวะ ตัง อะธิกะระณัง โหติ , โกจิ เทโส เลสะมัตโต อุปาทินโน ภิกขุ จะ โทสัง ปะติฏฐาติ , สังฆาทิเสโส  


       10. โย ปะนะ ภิกขุ สะมัคคัสสะ สังฆัสสะ เภทายะ ปะรักกะเมยยะ เภทะนะสังวัตตะนิกัง วา อะธิกะระณัง สะมาทายะ ปัคคัยหะ ติฏเฐยยะ 

       โส ภิกขุ ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “มา อายัส๎มา สะมัคคัสสะ สังฆัสสะ เภทายะ ปะรักกะมิ , เภทะนะสังวัตตะนิกัง วา อะธิกะระณัง สะมาทายะ ปัคคัยหะ อัฏฐาสิ ; สะเมตายัส๎มา สังเฆนะ , สะมัคโค หิ สังโฆ สัมโมทะมาโน อะวิวะทะมาโน เอกุทเทโส ผาสุ วิหะระตีติ 

       เอวัญจะ โส ภิกขุ ภิกขูหิ วุจจะมาโน ตะเถวะ ปัคคัณเหยยะ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ ยาวะตะติยัง สะมะนุภาสิตัพโพ ตัสสะ ปะฏินิสสัคคายะ ; ยาวะตะติยัญเจ สะมะนุภาสิยะมาโน ตัง ปะฏินิสสัชเชยยะ , อิจเจตัง กุสะลัง ; โน เจ ปะฏินิสสัชเชยยะ , สังฆาทิเสโส 


       11. ตัสเสวะ โข ปะนะ ภิกขุสสะ ภิกขู โหนติ อะนุวัตตะกา วัคคะวาทะกา , เอโก วา เท๎ว วา ตะโย วา , เต เอวัง วะเทยยุง , “มา อายัส๎มันโต เอตัง ภิกขุง กิญจิ อะวะจุตถะ ธัมมะวาที เจโส ภิกขุ , วินะยะวาที เจโส ภิกขุ , อัมหากัญเจโส ภิกขุ , ฉันทัญจะ รุจิญจะ อาทายะ โวหะระติ , ชานาติ โน ภาสะติ , อัมหากัมเปตัง ขะมะตีติ 

       เต ภิกขู ภิกขูหิ เอวะมัสสุ วะจะนียา “มา อายัส๎มันโต เอวัง อะวะจุตถะ , นะ เจโส ภิกขุ ธัมมะวาที , นะ เจโส ภิกขุ วินะยะวาที , มา อายัส๎มันตานัมปิ สังฆะเภโท รุจิตถะ , สะเมตายัส๎มันตานัง สังเฆนะ , สะมัคโค หิ สังโฆ สัมโมทะมาโน อะวิวะทะมาโน เอกุทเทโส ผาสุ วิหะระตีติ 

       เอวัญจะ เต ภิกขู ภิกขูหิ วุจจะมานา ตะเถวะ ปัคคัณเหยยุง 

       เต ภิกขู ภิกขูหิ ยาวะตะติยัง สะมะนุภาสิตัพพา ตัสสะ ปะฏินิสสัคคายะ ; ยาวะตะติยัญเจ สะมะนุภาสิยะมานา ตัง ปะฏินิสสัชเชยยุง อิจเจตัง กุสะลัง , โน เจ ปะฏินิสสัชเชยยุง ; สังฆาทิเสโส 


       12. ภิกขุ ปะเนวะ ทุพพะจะชาติโก โหติ , อุทเทสะปะริยาปันเนสุ สิกขาปะเทสุ ภิกขูหิ สะหะธัมมิกัง วุจจะมาโน อัตตานัง อะวะจะนียัง กะโรติ “มา มัง อายัส๎มันโต กิญจิ อะวะจุตถะ กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา , อะหัมปายัส๎มันเต นะ กิญจิ วักขามิ กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา , วิระมะถายัส๎มันโต มะมะ วะจะนายาติ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “มา อายัส๎มา อัตตานัง อะวะจะนียัง อะกาสิ , วะจะนียะเมวะ อายัส๎มา อัตตานัง กะโรตุ , อายัส๎มาปิ ภิกขู วะเทตุ สะหะธัมเมนะ , ภิกขูปิ อายัส๎มันตัง วักขันติ สะหะธัมเมนะ , เอวัง สังวัฑฒา หิ ตัสสะ ภะคะวะโต ปะริสา , ยะทิทัง อัญญะมัญญะวะจะเนนะ อัญญะมัญญะวุฏฐาปะเนนาติ 

       เอวัญจะ โส ภิกขุ ภิกขูหิ วุจจะมาโน ตะเถวะ ปัคคัณเหยยะ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ ยาวะตะติยัง สะมะนุภาสิตัพโพ ตัสสะ ปะฏินิสสัคคายะ , ยาวะตะติยัญเจ สะมะนุภาสิยะมาโน ตัง ปะฏินิสสัชเชยยะ

       อิจเจตัง กุสะลัง , โน เจ ปะฏินิสสัชเชยยะ , สังฆาทิเสโส 


       13. ภิกขุ ปะเนวะ อัญญะตะรัง คามัง วา นิคะมัง วา อุปะนิสสายะ วิหะระติ กุละทูสะโก ปาปะสะมาจาโร , ตัสสะ โข ปาปะกา สะมาจารา ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ , กุลานิ จะ เตนะ ทุฏฐานิ ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ 

       โส ภิกขุ ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “อายัส๎มา โข กุละทูสะโก ปาปะสะมาจาโร , อายัส๎มะโต โข ปาปะกา สะมาจารา ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ 

       กุลานิ จายัส๎มะตา ทุฏฐานิ ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ ; ปักกะมะตายัส๎มา อิมัมหา อาวาสา , อะลันเต อิธะ วาเสนาติ. เอวัญจะ โส ภิกขุ ภิกขูหิ วุจจะมาโน เต ภิกขู เอวัง วะเทยยะ “ฉันทะคามิโน จะ ภิกขู ; โทสะคามิโน จะ ภิกขู , โมหะคามิโน จะ ภิกขู , ภะยะคามิโน จะ ภิกขู , ตาทิสิกายะ อาปัตติยา เอกัจจัง ปัพพาเชนติ, เอกัจจัง นะ ปัพพาเชนตีติ 

       โส ภิกขุ ภิกขูหิ เอวะมัสสะ วะจะนีโย “มา อายัส๎มา เอวัง อะวะจะ , นะ จะ ภิกขู ฉันทะคามิโน , นะ จะ ภิกขู โทสะคามิโน , นะ จะ ภิกขู โมหะคามิโน , นะ จะ ภิกขู ภะยะคามิโน , อายัส๎มา โข กุละทูสะโก ปาปะสะมาจาโร , อายัส๎มะโต โข ปาปะกา สะมาจารา ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ , กุลานิ จายัส๎มะตา ทุฏฐานิ ทิสสันติ เจวะ สุยยันติ จะ , ปักกะมะตายัส๎มา อิมัมหา อาวาสา , อะลันเต อิธะ วาเสนาติ 

       เอวัญจะ โส ภิกขุ ภิกขูหิ วุจจะมาโน ตะเถวะ ปัคคัณเหยยะ , โส ภิกขุ ภิกขูหิ ยาวะตะติยัง สะมะนุภาสิตัพโพ ตัสสะ ปะฏินิสสัคคายะ ; ยาวะตะติยัญเจ สะมะนุภาสิยะมาโน ตัง ปะฏินิสสัชเชยยะ , อิจเจตัง กุสะลัง ; โน เจ ปะฏินิสสัชเชยยะ , สังฆาทิเสโส 

       อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต เตระสะ สังฆาทิเสสา ธัมมา : นะวะ ปะฐะมาปัตติกา , จัตตาโร ยาวะตะติยะกา ; เยสัง ภิกขุ อัญญะตะรัง วา อัญญะตะรัง วา อาปัชชิต๎วา ยาวะติหัง ชานัง ปะฏิจฉาเทติ ; ตาวะติหัง เตนะ ภิกขุนา อะกามา ปะริวัตถัพพัง , ปะริวุตถะปะริวาเสนะ ภิกขุนา อุตตะริง ฉารัตตัง ภิกขุมานัตตายะ ปะฏิปัชชิตัพพัง , จิณณะมานัตโต ภิกขุ , ยัตถะ สิยา วีสะติคะโน ภิกขุสังโฆ , ตัตถะ โส ภิกขุ อัพเภตัพโพ ; เอเกนะปิ เจ อูโน วีสะติคะโณ ภิกขุสังโฆ , ตัง ภิกขุง อัพเภยยะ , โส จะ ภิกขุ อะนัพภิโต , เต จะ ภิกขู คารัย๎หา : อะยัง ตัตถะ สามีจิ 

       ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ทุติยัมปิ ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ตะติยัมปิ ปุจฉามิ :  กัจจิตถะ ปะริสุทธา 

       ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต , ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ 

       สังฆาทิเสสุทเทโส นิฏฐิโต 



* * * ( ข้างบนนี้-ทั้งหมด ) นำมาจากพระไตรปิฎก  /  หัวข้อใหญ่สุด : อริยวินัย ที่มาในพระไตรปิฎกเล่มอื่นๆ  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก  /  หัวข้อย่อยรองลงมา : ภาคผนวก : ภิกขุปาติโมกข์   



* * * อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถอ่านได้ใน หนังสือ พุทธวจน เรื่อง อริยวินัย  /  หน้าที่ : 1,064 , 1,065 , 1,066 , 1,067 , 1,068 , 1,069 



หน้าถัดไป 


1  >   2  >   3  >   4