Sunday, December 19, 2021

ทำเส้นดินสอ ให้เป็น Vector ใน Illustrator - หน้า 1

 

ทำเส้นดินสอ ให้เป็น Vector ใน Illustrator


ภาพบน ) วาดภาพด้วยดินสอบนกระดาษเปล่า


ภาพบน ) จากนั้นก็ Scan ภาพที่วาดด้วยดินสอนี้



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เริ่มที่โปรแกรม Photoshop

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -     

ภาพบน ) เปิดโปรแกรม Photoshop ขึ้นมาก่อน  


ภาพบน ) เปิดภาพที่เราสแกนเอาไว้ ขึ้นมานะครับ


กด Ctrl + L

เพื่อเปิด หน้าต่าง Level ขึ้นมา



ภาพบน ) Palette ของ Levels จะถูกเปิดขึ้นมา


ภาพบน ) คลิก “ซ้าย” 1 ครั้งไปที่ “หลอดสีขาว

ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



ภาพบน ) เคอร์เซอร์ เมาส์ จะเปลี่ยนเป็น สัญลักษณ์ หลอดดูดสี

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้


 ( ภาพบน ) เอาหลอดดูดสีดังกล่าว ไปจิ้มที่ภาพที่เปิดขึ้นมา

โดยจิ้มที่บริเวณใดก็ได้ที่เป็น “สีขาว

เช่นจิ้มตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

แล้ว คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง


ภาพบน ) จากนั้นก็ให้ คลิก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ ปุ่ม OK 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา

จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )

ภาพบน ) จากนั้น ก็ Save ภาพนี้ให้เรียบร้อย

โดยใช้คำสั่ง File > Save

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 




ภาพบน ) จากนั้น ก็ให้ดำเนินการดังนี้ คือ

1. ตั้งชื่อไฟล์ตามที่เราต้องการ ( ตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 


2. เลือกเป็นนามสกุล *PSD ( ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 


3. กด ปุ่ม Save ( ตรงที่ ลูกศรสีน้ำเงิน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 



- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

เปิดโปรแกรม Illustrator ขึ้นมา

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -     


ภาพบน ) เปิดโปรแกรม Illustrator ขึ้นมา  


ภาพบน ) เลือกคำสั่ง File > New 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้




ภาพบน ) ผลของการเลือกคำสั่ง File > New       

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะปรากฏ หน้าต่าง ขึ้นมาที่ "หน้าจอ"

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ 

จากนั้นก็ให้ตั้งค่าเลียนแบบตามที่ปรากฏอยู่

ตรงบริเวณที่มี 
กรอบสี่เหลี่ยมเส้นขอบสีม่วง ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้

แล้ว คลิก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ ปุ่ม 
OK 

ตรงที่ ลูกศรสีน้ำเงิน ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 



ภาพบน ) ผลของการคลิก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปที่ ปุ่ม OK 

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะปรากฏ Artboard ( พื้นที่การทำงาน ) ขึ้นมาที่ "หน้าจอ"

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ 


ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือ Palette Layer ณ.ปัจจุบัน นะครับ 


ภาพบน ) คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่

เมนู Create New Layer 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 




ภาพบน ) ผลของการ คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่

เมนู Create New Layer       

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

เมื่อดูตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า ได้เกิด Layer ใหม่ ขึ้นมาที่มีชื่อว่า Layer 2

อยู่เหนือ Layer ชื่อ Layer 1


ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือ Palette Layer ณ.ปัจจุบัน นะครับ


ขอแทรกนิดนึงครับ    


- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -  

ทำไมต้องทำ Layer ให้มี 2 ชั้น?

ข้างล่างนี้ )

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -     

ภาพบน ) ใน Layer 2 ชั้น ที่เราทำขึ้นมานั้น

เราจะแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน

โดยที่ Layer 2 คืออันที่อยู่ด้านบน

( ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

เราจะเอาไว้ใช้ทำงาน ( เช่น การใส่ภาพ ฯลฯ )


ภาพบน ) ส่วนที่ Layer 1

( ตรงที่ 
ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 

นี้ เรามี “สำรอง” เอาไว้ในอนาคต

เผื่อจะต้องมีการใส่สีภาพ ฯลฯ


ภาพบน ) กลับมาที่ Artboard ของเราอีกครั้ง

( ตอนนี้่ เราทำงานอยู่ที่ Layer 2

ตามที่ได้อธิบายไว้ใน 
ตารางสีเหลือง ข้างบนนี้ )


ภาพบน ) เลือกคำสั่ง File > Place 

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) ผลของการเลือกคำสั่ง File > Place 

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะปรากฏ หน้าต่าง ขึ้นมาที่ "หน้าจอ"

เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้  จากนั้น ก็ให้ดำเนินการดังนี้ คือ

1. คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ภาพที่เรา Save เอาไว้ก่อนหน้านี้

 ( ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 


2. กด ปุ่ม 
Place ( ตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) 



ภาพบน ) ผลของการเลือกคำสั่ง File > Place       

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา 

จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )


ภาพบน ) คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่ด้านนอก Bounding Box

โดยจะคลิกตรงไหนก็ได้ ( ที่อยู่ ด้านนอก Bounding Box )

ยกตัวอย่างเช่น คลิกไปตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



( ภาพบน ) ผลของการ คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่ด้านนอก Bounding Box  

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะทำให้ Bounding Box ที่อยู่รอบๆ Object นั้น "
หายไป"

เหลือเพียงแต่ตัว Object เพียวๆ แบบที่เห็น

ตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา

จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )


ภาพบน ) คลิกไปที่ Rectangle Tool

ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ"

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้



ภาพบน ) จากนั้นก็ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ( ศรดำ )

ทำการ "ลากคร่อม" ตัว Object เป็น "แนวทะแยง"

คือลากไปตามแนวของ 
เส้นประลูกศรสีม่วง

แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้


ภาพบน ) "ปล่อย" ปุ่มเมาส์



ภาพบน ) ผลของการ "ปล่อย" ปุ่มเมาส์

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะปรากฏ "สี่เหลี่ยม-ขาวทึบ" เหมือนที่เห็นตรงที่

ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

ขึ้น "
บัง" ตัว Object


ภาพบน ) จากนั้น ให้คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ สีเขียว ที่ Color Palette

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้

( หรือจะเลือกสีอื่นก็ได้นะครับ อันนี้ เป็นตัวอย่างเฉยๆ )



ภาพบน ) ผลของการ คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ สีเขียว ที่ Color Palette   

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

เมื่อดูตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า สีของ Fill ได้เปลี่ยนเป็น สีเขียว เรียบร้อยแล้ว



ภาพบน ) ผลของการ คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ สีเขียว ที่ Color Palette 

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

ณ.ตอนนี้สีของ "สี่เหลี่ยม-ขาวทึบ" ที่เราทำเอาไว้ก่อนหน้านี้ 

 ก็ได้เปลี่ยนไปเป็น สีเขียว เรียบร้อยแล้ว เหมือนที่เห็น 

ตรงที่ ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา

จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )


ภาพบน ) คลิก "ขวา" 1 ครั้ง ไปที่พื้นที่ สีเขียว



ภาพบน ) ผลของการ คลิก "ขวา" 1 ครั้ง ไปที่พื้นที่ สีเขียว

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

จะทำให้เกิด "หน้าต่างเมนู" "คลี่" ลงมา เหมือนที่เห็นตรงที่มี

ปีกกาสีส้ม ครอบอยู่ ในภาพข้างบนนี้  /  จากนั้น ก็ให้คลิกเลือก

ไปที่เมนู Arrange > Send to Back

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 



ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "ก่อน" การคลิกเลือก

ไปที่เมนู Arrange > Send to Back 

( ที่เราทำไป ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) 

เมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีเขียว ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ ยังอยู่ "ทับObject อยู่ 



ภาพบน ) ข้างบนนี้ คือภาพ "หลัง" การคลิกเลือก

ไปที่เมนู Arrange > Send to Back 

( ที่เราทำไป ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) 

เมื่อดูตรงที่ ลูกศรสีส้ม-เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ ได้ "ย้าย

 ไปอยู่ "ด้านล่าง" ของตัว Object เรียบร้อยแล้ว


ภาพบน ) เลือกคำสั่ง Object Lock > Selection

ตรงที่ 
ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 




ภาพบน ) ผลของการเลือกคำสั่ง Object Lock > Selection      

( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" )  

เมื่อดูตรงที่ 
ลูกศรสีส้ม - เหลือง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ 

จะเห็นได้ว่า สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ ได้ถูก Lock เรียบร้อยแล้ว

คือ ณ.ตอนนี้ ถึงแม้เราจะเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไปคลิกที่

สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ อันนี้ มันก็จะ "
ไม่Active แล้ว

คือ มัน "
NoActive ไปแล้ว


ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา

จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ 

( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว )


ขอแทรกนิดนึงครับ  




       ( ภาพบน ) การที่เราทำการ Lock ไปนั้น มันเป็นการ Lock ที่ สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ เท่านั้น เราไม่ได้ Lock ที่ตัว Object ไปด้วย ( คำว่า Object ในที่นี้ หมายถึงภาพที่เราเอาดินสอวาดนั่นเอง )

       นั่นก็หมายความว่า ถ้าเราเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ไป วางไว้เฉยๆ ที่บริเวณตัว Object แล้วล่ะก็ ตัว Object นั้นก็จะ Active ( คือ มีปฏิกิริยาตอบสนอง ) ทันที คือมี กากบาท เป็นเส้นสีน้ำเงิน-ไขว้ ขึ้นที่ตัว Object นั้น 



 1  >   2  >   3