- หน้า 2 -
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
( ภาพบน ) กด ปุ่ม V |
( ภาพบน ) กด ปุ่ม V ก็จะเหมือนการคลิกไปที่ ศรดำ - Selection Tool ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ" ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) เคอร์เซอร์ เมาส์ จะเปลี่ยนเป็น สัญลักษณ์ ลูกศรสีดำ เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ เครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Selection Tool |
( ภาพบน ) เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ( ศรดำ ) ไปคลิกที่ Object ( เช่น เอาไปคลิกตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) ซึ่งจะทำให้ Object นั้น Active |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ให้ดำเนินการดังนี้คือ
1. กดปุ่ม Embed
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
( ภาพบน ) คลิกไปที่ ปุม Embed |
( ภาพบน ) การคลิกไปที่ ปุ่ม Embed ก็เพื่อให้ ไฟล์ภาพนั้น ( หมายถึงภาพที่วาดด้วยดินสอนั้น ) มัน "ฝัง" เข้าไปในโปรแกรม Illustrator
เราควร "ฝัง" รูปภาพเอาไว้ในโปรแกรมก็เพราะเรื่องความสะดวกสบายในการย้ายไฟล์หรือส่งต่อไฟล์ให้คนอื่นทำงานต่อจากเรา เพราะถ้าเราไม่ฝังภาพเอาไว้เราก็จะต้องตั้งโฟลเดอร์แล้วเอาไฟล์ Illustrator กับ รูปภาพทั้งหมดใน Artwork ใส่ในที่เดียวกัน แล้วถึงจะส่งงานต่อให้คนอื่นได้ ซึ่งแบบนั้นจะค่อนข้างยุ่งยากในการจัดการไฟล์พอสมควร
ในกรณีถ้าเราไม่ได้ "ฝัง" ภาพใน Illustrator และเตรียมไฟล์ภาพไม่ครบแล้วส่งไปให้กับโรงพิมพ์ ปัญหาคือจะต้องส่งงานกันกลับไปกลับมา หรือเลวร้ายกว่านั้นคือพิมพ์ออกมาแล้วงานไม่ตรงกับที่ได้ออกแบบเอาไว้ เพราะทางโรงพิมพ์เองก็คงไม่มีเวลามากมายมาสอบถามเรื่องความถูกต้องของตัวไฟล์
เราควร "ฝัง" รูปภาพเอาไว้ในโปรแกรมก็เพราะเรื่องความสะดวกสบายในการย้ายไฟล์หรือส่งต่อไฟล์ให้คนอื่นทำงานต่อจากเรา เพราะถ้าเราไม่ฝังภาพเอาไว้เราก็จะต้องตั้งโฟลเดอร์แล้วเอาไฟล์ Illustrator กับ รูปภาพทั้งหมดใน Artwork ใส่ในที่เดียวกัน แล้วถึงจะส่งงานต่อให้คนอื่นได้ ซึ่งแบบนั้นจะค่อนข้างยุ่งยากในการจัดการไฟล์พอสมควร
ในกรณีถ้าเราไม่ได้ "ฝัง" ภาพใน Illustrator และเตรียมไฟล์ภาพไม่ครบแล้วส่งไปให้กับโรงพิมพ์ ปัญหาคือจะต้องส่งงานกันกลับไปกลับมา หรือเลวร้ายกว่านั้นคือพิมพ์ออกมาแล้วงานไม่ตรงกับที่ได้ออกแบบเอาไว้ เพราะทางโรงพิมพ์เองก็คงไม่มีเวลามากมายมาสอบถามเรื่องความถูกต้องของตัวไฟล์
( ภาพบน ) ผลของการคลิกไปที่ ปุม Embed ( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) จะปรากฏ หน้าต่าง ขึ้นมาที่ "หน้าจอ" เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
2. กด Live Trace แล้วเลือก Photo High Fidelity
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
( ภาพบน ) ผลของการคลิกเลือกไปที่ เมนู Photo High Fidelity ( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
3. ใช้คำสั่ง Expand กับตัว Object
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
( ภาพบน ) กด ปุ่ม V |
( ภาพบน ) จากนั้นก็ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ( ศรดำ ) ทำการ "ลากคร่อม" ตัว Object เป็น "แนวทะแยง" คือลากไปตามแนวของ เส้นประลูกศรสีม่วง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) "ปล่อย" ปุ่มเมาส์ |
( ภาพบน ) ผลของการเอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ( ศรดำ ) ทำการ "ลากคร่อม" ตัว Object แล้ว "ปล่อย" ปุ่มเมาส์ ( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) ก็จะทำให้ตัว Object นี้ Active แล้ว |
( ภาพบน ) เลือกคำสั่ง Object > Expand ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ผลของการเลือกคำสั่ง Object > Expand ( ใน "ขั้นตอนก่อนหน้านี้" - ใน "ภาพก่อนหน้านี้" ) จะปรากฏ หน้าต่าง ขึ้นมาที่หน้าจอ เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
4. ใช้คำสั่ง Ungroup
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ภาพบน ) เลือกคำสั่ง Object > Ungroup ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่ด้านนอก Bounding Box โดยจะคลิกตรงไหนก็ได้ ( ที่อยู่ ด้านนอก Bounding Box ) ยกตัวอย่างเช่น คลิกไปตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
5. ใช้เครื่องมือ Magic Wan Tool แล้วกดปุ่ม Delete
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
( ภาพบน ) คลิกไปที่ Magic Wand Tool ที่อยู่ที่ "กล่องเครื่องมือ" ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) เคอร์เซอร์ เมาส์ จะเปลี่ยนเป็น สัญลักษณ์ ไม้เท้า มีประกาย เหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้ เครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Magic Wand Tool |
( ภาพบน ) คลิก "ซ้าย" 1 ครั้ง ไปตรงตำแหน่งที่ว่านั้น ( ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ ) |
( ภาพบน ) การใช้ Magic Wan Tool คลิกไปที่ "พื้นที่-สีขาว" บนตัว Object นั้น ก็คือการทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ "เลือก" ( Select ) ส่วนที่เป็น สีขาว ทั้งหมดของตัว Object นั่นเอง
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
( ภาพบน ) กด ปุ่ม Delete |
( ภาพบน ) การที่เราเอา สี่เหลี่ยม-เขียวทึบ ไปวางไว้ด้านหลังตัว Object ตั้งแต่แรกนั้น ก็มีประโยชน์ตรงนี้แหละครับ
ประโยชน์นั้นก็คือ เมื่อเรา "ลบ" ส่วนที่เป็น พื้นที่-สีขาว ออกไปจากตัว Object แล้ว เราก็จะเห็นส่วนที่เหลือ ( คือ ส่วนที่เหลือจากการที่ "ไม่มีสีขาว" แล้ว ) ได้อย่างชัดเจน
คำว่า "เห็นส่วนที่เหลือ ( คือ ส่วนที่เหลือจากการที่ "ไม่มีสีขาว" แล้ว ) ได้อย่างชัดเจน" นั้น ก็หมายถึง
1. ตัว Object เอง
2. เม็ดเล็กๆที่ติดมากับภาพ ในตอนที่เรา Scan ภาพมาตั้งแต่แรก ( คือเราจะได้เห็นเม็ดเล็กๆที่ว่านี้ได้ชัด แล้วเราจะได้ลบทีหลัง )
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
6. ใส่ "สีดำ" เข้าไปที่เส้น
( ข้างล่างนี้ )
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
( ภาพบน ) กด ปุ่ม V |
( ภาพบน ) จากนั้นก็ให้เอา เคอร์เซอร์ เมาส์ ( ศรดำ ) ทำการ "ลากคร่อม" ตัว Object เป็น "แนวทะแยง" คือลากไปตามแนวของ เส้นประลูกศรสีม่วง แบบที่เห็นในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) "ปล่อย" ปุ่มเมาส์ |
( ภาพบน ) จากนั้น ให้คลิก "ซ้าย" 1 ครั้งไปที่ สีดำ ที่ Color Palette ตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ ( พร้อมที่จะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปแล้ว ) |
( ภาพบน ) คลิก “ซ้าย” 1 ครั้ง ไปที่ด้านนอก Bounding Box โดยจะคลิกตรงไหนก็ได้ ( ที่อยู่ ด้านนอก Bounding Box ) ยกตัวอย่างเช่น คลิกไปตรงที่ ลูกศรสีม่วง ชี้อยู่ในภาพข้างบนนี้ |
( ภาพบน ) ณ.ตอนนี้ "หน้าจอ" คอมพิวเตอร์ของเรา จะเป็นเหมือนที่เห็นในภาพข้างบนนี้นะครับ |